หนึ่งทศวรรษวิกฤติเศรษฐกิจเอเชียจากอดีตสู่การเรียนรู้เศรษฐกิจของประเทศอาเซียน.
Abstract
บทความนี้เป็นความพยายามหนึ่งในการวิเคราะห์ประเด็นปัญหาเศรษฐกิจของอาเซียนในยุคหลังวิกฤติเศรษฐกิจ พ.ศ. 2540 เพื่อทำความเข้าใจกับบทเรียนด้านเศรษฐกิจการเมืองของภูมิภาคฯ ซึ่งชี้ให้เห็นว่าประเทศในเอเซียนได้เรียนรู้จากบทเรียนในอดีต และดำเนินนโยบายเชิงเสรีนิยมอย่างรอบครอบมากขึ้นตามแนวคิดเศรษฐศาสตร์ Keynesian ประเทศเหล่านี้จะเน้นการเพิ่มความเข้มแข็งภายในและการควบคุมระบบการเงินและการลงทุนจากต่างประเทศมากขึ้นรวมถึงการส่งเสริมกระแสภูมิภาคนิยมในทางการบูรณการเศรษฐกิจเอเชียที่กำลังก่อตัวขึ้นมา ผลงานวิจัยนี้จะชี้ให้เห็นความเชื่อมโยงเกี่ยวพันกันระหว่างปัจจัยภายในกับภายนอกในกระบวนการฟื้นฟูเศรษฐกิจอาเซียน และนัยยะสำคัญต่อทิศทางของโครงสร้างเศรษฐกิจใหม่ในเอเชียThis paper is an effort to take the crisis into a renewed scrutinyto clarify economic challenges of ASEAN economies in post crisis era.Its study found that ASEAN economies turned to adopt a more prudentliberalist approach in favor of the Asian regionalism. Regional countriesstrived to strengthen their domestic economies with Keynesian macroeconomicpolicy while gradually resembling new Asian economicarchitecture. The paper also sheds lights on the interrelation betweendomestic and international factors in the recovery process of ASEANand likely directions of new economic structure in Asia.Downloads
Issue
Section
Articles