ปัญหาสิ่งแวดล้อมในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้: การวิพากษ์และแนวทางแก้ไขปัญหาเชิงบูรณาการ ผ่านมุมมองเชิงพุทธและมาร์กซิสม์ Environmental Problems in Southeast Asia: Integrated Critiques and Resolutions through Buddhism and Marxism Perspective

Authors

  • Phan Thi Hong Xuan

Keywords:

Buddhism, Marxism, Environment, Nature, Southeast Asia, พุทธศาสนา, มาร์กซิสม์, สิ่งแวดล้อม, ธรรมชาติ, ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

Abstract

          ถึงแม้ว่าประเทศและองค์กรต่าง ๆ ทั่วโลกต่างพยายามอย่างต่อเนื่องในการ เรียกร้องให้มีลดการใช้ทรัพยากรธรรมชาติที่ไม่เหมาะสมให้เป็นไปตามเป้าหมายของ การพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals: SDGs) เพื่อให้แน่ใจว่า ทรัพยากรธรรมชาติยังคงอยู่อย่างยั่งยืน แต่ดูเหมือนว่าสถานการณ์ปัญหาสิ่งแวดล้อม ในปัจจุบันก็ยังคงไม่ได้รับการแก้ไขอย่างจริงจัง ในบทความชิ้นนี้ จะวิเคราะห์พิจารณา ประเด็นปัญหาดังกล่าวด้วยแนวคิดมานุษยวิทยาเชิงพุทธและมาร์กซิสม์ ซึ่งวางอยู่บนฐานของวัฒนธรรมของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และใช้สถานการณ์ปัจจุบันของ สภาพแวดล้อมในพื้นที่เพื่อชี้ให้เห็นถึงความสำคัญในการเพิ่มความตระหนักรู้ รับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม และการปฏิบัติเพื่อประโยชน์ของแต่ละประเทศในภูมิภาคแห่งนี้ในระยะยาว           Although the countries and organizations around the world have had a lot of effort trying to call for reducing abuse of natural resources in order to precede the Sustainable Development Goals (known as SDGs) and ensure the sustainability of environment, the current environment problems have not been seriously solved. On the perspective of Anthropology of Buddhism and Marxism, based on the culture of Southeast Asian countries and the current state of the environment in this area, the article gives some opinions to further enhance environmental responsibility and action for the benefit of each country in the region.

Downloads