การกีดกันจากที่ดินภายใต้วาทกรรมตลาดกับการต่อรองเพื่อการอ้างสิทธิ์เหนือที่ดินในจังหวัดนครนายก
Abstract
ช่วงสองถึงสามทศวรรษหลังที่ผ่านมา วาทกรรมตลาดแบบเสรีนิยมใหม่เป็นสิ่งที่ถูกอ้างถึงโดยรัฐ เพื่อใช้เป็นเหตุผลหนึ่งในการปฏิรูปที่ดินและทำให้ที่ดินกลายเป็นสินค้าสำหรับตอบสนองต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ แต่อย่างไรก็ตาม การใช้อำนาจของรัฐไทยผ่านนโยบาย โครงการพัฒนา และการออกกฎระเบียบ เพื่อควบคุมกำกับและบริหารจัดการที่ดินในกรณีของจังหวัดนครนายกเป็นสิ่งที่ขัดกับหลักแบบเสรีนิยมใหม่ตามที่รัฐได้อ้างไว้ อันมีผลทำให้เกิดการกีดกันผู้คนในพื้นที่บางกลุ่มออกจากที่ดินและที่อยู่อาศัยเดิมของตนเอง ทั้งนี้ เพื่อเผยให้เห็นถึงปัญหาของการใช้อำนาจของรัฐและวาทกรรมตลาดเหนือที่ดิน ในกรณีของจังหวัดนครนายก บทความนี้จึงมีเป้าหมายในการวิเคราะห์ถึงสาเหตุและผลลัพธ์อันเกิดจากปฏิบัติการของรัฐและวาทกรรมตลาด รวมถึงนำเสนอการตอบโต้ของผู้คนในพื้นที่เพื่อการอ้างสิทธิ์เหนือที่ดินในท้องถิ่นของตนเอง During the last two to three decades, the states refer to neoliberal market discourse to serve as a reason for land reform and commoditization in response to the country's economic development. However, by the use of power of the Thai state through policies, development projects and regulations are to control and govern land in the case of Nakhon Nayok Province. It contrasts to the neoliberal principle which was referred by the state. Those people are excluded from their own lands. As a result, to reveal the problems of the use of state power and the over-land market discourse in the case of Nakhon Nayok Province, this article aims to analyze the causes and the results of the state practice and market discourse, including presents how local people counters to claim their own lands.References
กนกวรรณ มะโนรมย์. (2562). “อำนาจกีดกัน” เปลี่ยน “ความสมบูรณ์” เป็น “ขาดแคลน’ กรณีเขื่อนลำน้ำ โขงและ ทวงคืน ผืนป่า . วันที่ค้นข้อมูล 2 ธันวาคม 2562, เข้าถึงได้จาก https://isaanrecord.com/2019/07/23/power-of-exclusion-government-policy-ubon/
กรมที่ดิน. (2552). ตารางผลการดำเนินการแจกโฉนดที่ดิน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2551. วันที่ค้นข้อมูล 20 พฤศจิกายน 2562, เข้าถึงได้จาก https://www.dol.go.th/doc/Pages/รายงานผลการแจกโฉนดที่ดิน-ปีงบประมาณ-พ.ศ.-2550.aspx
กฤษฎา บุญชัย. (2547). แปลงทรัพย์ให้เป็นของกลุ่มทุนหรือจะแปลงสิทธิให้ประชาชน. ใน ศรยุทธ เอี่ยม-เอื้อยุทธ และวราภรณ์ เอี่ยมเอื้อยุทธ (บก.). วิพากษ์แนวคิดแปลงทรัพย์สินเป็นทุน ถึงปัญหาการจัดการที่ดินในสังคมไทย (หน้า 97-106). เชียงใหม่: นพบุรีการพิมพ์.
กัมปนาท เบ็ญจนาวี. (2557). การพัฒนาของอุตสาหกรรมท่องเที่ยวเมืองพัทยากับการปรับตัวของชุมชนชาวจีนหนองชากแง้ว. ใน Conference Proceedings The New Model and approach in Political Science: Graduate Students’ Perspective (หน้า 249-280). กรุงเทพฯ: Konrad-Adenauer-Stiftung Thailand and Institute of Democratization Studies.
กัมปนาท เบ็ญจนาวี. (2561). ชนชั้นเสี่ยงในเมืองท่องเที่ยว: กรณีศึกษาพนักงานจัดเก็บขยะของเทศบาล. วารสารเศรษฐศาสตร์การเมืองบูรพา, 6(1), 95-117.
กัมปนาท เบ็ญจนาวี. (2562). อุตสาหกรรมในฐานะจักรกลในการขับเคลื่อน: ข้อเสนอการพัฒนาอุตสาหกรรมพื้นที่ชายฝั่งทะเลตะวันออกในมุมมองของภาคเอกชน. ในรัฐปั่นป่วน: กระแสการเมือง ระบบโลก และการบริหารภาครัฐในยุค Disruption (หน้า 248-266). ชลบุรี: คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา.
เกษียร เตชะพีระ. (2547). แปลงสินทรัพย์เป็นทุนแปลงตาสีตาสาเป็นเถ้าแก่. ใน ศรยุทธ เอี่ยมเอื้อยุทธและวราภรณ์ เอี่ยมเอื้อยุทธ (บก.). วิพากษ์แนวคิดแปลงทรัพย์สินเป็นทุน ถึงปัญหาการจัดการที่ดินในสังคมไทย (หน้า 81-88). เชียงใหม่: นพบุรีการพิมพ์.
จังหวัดนครนายก. (ม.ป.ป.). ประวัติความเป็นมาของจังหวัดนครนายก. วันที่ค้นข้อมูล 10 กุมภาพันธ์ 2560, เข้าถึงได้จาก http://www.nakhonnayok.go.th/home/page.php?id=38
จิรายุทธ์ สีม่วง. (2560). การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจของชุมชนจากการเข้ามาของนิคมอุตสาหกรรม: กรณีศึกษาชุมชนประมงชายฝั่งหาดตากวน - อ่าวประดู่ ตำบลมาบตาพุด อำเภอเมือง จังหวัดระยอง. วารสารเศรษฐศาสตร์การเมืองบูรพา, 5(1), 1-21.
ชัยณรงค์ เครือนวน. (2563). ยุทธศาสตร์การพัฒนา ความเปลี่ยนแปลง ปฏิบัติการทางสังคม และข้อเสนอเชิงนโยบาย ภายใต้การพัฒนาอุตสาหกรรม ในพื้นที่มาบตาพุด จังหวัดระยอง. วารสารเศรษฐศาสตร์การเมืองบูรพา, 8(1), 25-47.
ณาตยา แป้นแย้ม. (2552: 51). ต้นทุน-ประสิทธิผลของโครงการเร่งรัดการออกโฉนดที่ดินทั่วประเทศตามนโยบายการแปลงสินทรัพย์เป็นทุน. สารนิพนธ์เศรษฐศาสตร์มหาบัณฑิต, สาขาเศรษฐศาสตร์การพัฒนามนุษย์, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ธัชชนก สัตยวินิจ. (2560). รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ การทบทวนและปรับยุทธศาสตร์การพัฒนาของโครงการพัฒนาพื้นที่ชายฝั่งทะเลตะวันออกสู่การเป็นประเทศอาเซียนในจังหวัดนครนายก: กรณีการจัดการพื้นที่สีเขียวในบริบทอุตสาหกรรม. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.
นิธิ เอียวศรีวงศ์. (2547). การแปลงทรัพย์สินเป็นทุน: ข้อค้านและติง. ใน ศรยุทธ เอี่ยมเอื้อยุทธ และวราภรณ์ เอี่ยมเอื้อยุทธ (บก.). วิพากษ์แนวคิดแปลงทรัพย์สินเป็นทุน ถึงปัญหาการจัดการที่ดินในสังคมไทย (หน้า 72-80). เชียงใหม่: นพบุรีการพิมพ์.
บ้านเมืองน่าอยู่ เชิดชูคุณธรรม จังหวัดนครนายก. (ม.ป.ป.). วันที่ค้นข้อมูล 3 กุมภาพันธ์ 2561. เข้าถึงได้จาก http://www.nakhonnayok.go.th/ data/home%20good.html
ประชาชาติธุรกิจออนไลน์. (2560). นครนายก เฮ ใช้ผังเมืองเดิมปี’55 ปิดทางตั้งคอนโดฯ-โรงงานก่อมลพิษ. วันที่ค้นข้อมูล 9 มกราคม 2561, เข้าถึงได้จาก https://www.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1498462283
ประชาชาติธุรกิจออนไลน์. (2563). “จัดรูปที่ดินใหม่” 44 จังหวัด ทะลวงที่ “ตาบอด” อัพราคาเพิ่ม 10 เท่า. วันที่ค้นข้อมูล 1 กันยายน 2563, เข้าถึงได้จาก https://www.prachachat.net/property/news-513704
ประชาไท. (2560). 27 องค์กรประชาสังคม ค้านแก้ผังเมืองนครนายก-นัดร้องผู้ว่าฯ ต่อ. วันที่ค้นข้อมูล 9 มติชน. (2546). "นครนายก"สัมมนาผังเมืองรวม คนแห่ร่วมนึกว่าเรื่อง"เมืองใหม่," มติชน (27 พฤศจิกายน 2546). หน้า 22.
วารินทร์ วงศ์หาญเชาว์ และคณะ. (2548). โครงการศึกษาระบบการจัดการที่ดินในระดับท้องถิ่น. วันที่ค้นข้อมูล 20 พฤศจิกายน 2562, เข้าถึงได้จาก http://landforum.trf.or.th/attachments/article/14/PDF02-01.pdf
วิทยา สุรินา. (2557). ผลสัมฤทธิ์ของการวางผังเมือง: กรณีศึกษาผังเมืองรวมเมืองนครนายก. วิทยานิพนธ์การวางผังภาคและเมืองมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการวางแผนชุมชนเมืองและสภาพแวดล้อม, คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์, สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ลาดกระบัง.
สรศักดิ์ งามขจรกุลกิจ. (บก.). (2539). ประวัติศาสตร์เมืองนครนายก. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ.
สำนักข่าวสปริงส์นิวส์. (2558). เครือข่ายพลเมืองนครนายก คัดค้านการสร้างโรงงาน อุตสาหกรรม วันที่ 27 กรกฎาคม 2558. [Video file]. วันที่ค้นข้อมูล 30 พฤศจิกายน 2559, เข้าถึงได้จาก https://www.youtube.com/watch?v=sHG1Qf4hI3M
สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2553). การสำรวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน พ.ศ. 2552 จังหวัดนครนายก. กรุงเทพฯ: สำนักงานสถิติแห่งชาติ.
สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2555). การสำรวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน พ.ศ. 2554 จังหวัดนครนายก. กรุงเทพฯ: สำนักงานสถิติแห่งชาติ.
สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2559). การสำรวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน พ.ศ. 2558 จังหวัดนครนายก. กรุงเทพฯ: สำนักงานสถิติแห่งชาติ.
องค์การบริหารส่วนจังหวัดนครนายก. (ม.ป.ป.). ข้อมูลพื้นฐาน. วันที่ค้นข้อมูล 10 กุมภาพันธ์ 2560, เข้าถึงได้จาก https://khonyok.go.th/ public/location/data/index/menu/24
โอฬาร ถิ่นบางเตียว. (2559). การศึกษาประวัติศาสตร์เศรษฐกิจการเมืองท้องถิ่น ด้วยวิธีการประวัติศาสตร์ บอกเล่า: กรณีศึกษาตำบลกระแสบน อำเภอแกลง จังหวัดระยอง. วารสารเศรษฐศาสตร์การเมืองบูรพา, 4(2), 1-29.
Akram-Lodhi, A. H. (2005). Vietnam’s Agriculture: Processes of Rich Peasant Accumulation and Mechanisms of Social Differentiation. Journal of Agrarian Change, 5(1), 73-116.
Barney, K. (2008). China and the Production of Forestlands in Lao DRP: A Political Ecology of Transnational Enclosure. In Nevins, J. & Peluso, N. L. (eds.). Taking Southeast Asia to Market: Commodities, Nature, and People in the Neoliberal Age. New York: Cornell University Press.
Biggs, D. (2008). Water Power: Machines, Modernizer, and Meta-Commoditization on the Mekong River. In Nevins, J. & Peluso, N. L. (eds.). Taking Southeast Asia to Market: Commodities, Nature, and People in the Neoliberal Age. New York: Cornell University Press.
De Soto, H. (2001). The Mystery of Capital: Why Capitalism Triumphs in the West and Fails Everywhere Else. London: Black Swan.
Deininger, K. (2003). Land Policies for Growth and Poverty Reduction. Washington, DC.: The World Bank.
Ferguson, J. (1992). The Cultural Topography of Wealth: Commodity Paths and the Structure of Property in Rural Lesotho. American Anthropologist, 94(1), 55-73.
Ganjanapan, A. (1989). Conflict over the Deployment and Control of Labor in a Northern Thai Village. In Hart, G. & et.al. Agrarian Transformations: Local Processes and the State in Southeast Asia. Berkeley: University of California Press.
Ganjanapan, A. (1994). The Northern Thai Land Tenure System: Local Customs versus National Laws. Law & Society Review, 28(3), 609-622.
Ganjanapan, A. (2000). Local Control of Land and Forest: Cultural Dimensions of Resource Management in Northern Thailand. Chiang Mai: Regional Center for Social Science and Sustainable Development (RCSD).
Hall, D. (2013). Land. Cambridge: Polity.
Hall, D. & Hirst, P., & Murray, T. (2011). Power of Exclusion: Land Dilemmas in Southeast Asia. Singapore: National University of Singapore.
Hammar, A. (2002). The Articulation of Modes of Belonging: Competing Land Claims in Zimbabwe's Northwest. In Kristine Juul & Christian Lund. Negotiating Property in Africa. Portsmouth, NH: Heinemann.
Hart, G. (1997). Multiple Trajectories of Rural industrialization: An Agrarian Critique of Industrial Restructuring and the New Institutionalism. In David Goodman and Michael Watts. (eds.). Globalising Food: Agrarian Questions and Global Restructuring. London: Routledge.
Levien, M. (2012). The Land Question: Special Economic Zones and the Political Economy of Dispossession in India. The Journal of Peasant Studies, 39(3-4), 933-969.
Lund, C. (2008). Local Politics and the Dynamics of Property in Africa. New York: Cambridge University Press.
Maclean, K. (2008). Sovereignty in Burma after the Entrepreneurial Turn: Mosaics of Control, Commodified Spaces, And Regulated Violence in Contemporary Burma. In Nevins, J. & Peluso, N. L. (eds.). Taking Southeast Asia to Market: Commodities, Nature, and People in the Neoliberal Age. New York: Cornell University Press.
Moore, D. S. (1993). Contesting Terrain in Zimbabwe's Eastern Highlands: Political Ecology, Ethnography, and Peasant Resource Struggles. Economic Geography, 69(4), 380- 401.
Neumann, R. P. (1999). Land, Justice, and the Politics of Conservation in Tanzania. In Charles Zerner. (ed.). People, Plants, and Justice: The Politics of Nature Conservation (pp. 117-133). New York: Columbia University Press.
Nevins, J., & Peluso, N. L. (2008). Introduction: Commoditization in Southeast Asia. In Taking Southeast Asia to Market: Commodities, Nature, and People in the Neoliberal Age (pp. 1-23). New York: Cornell University Press.
Nyantakyi-Frimpong, H., & Kerr, R. B. (2017). Land Grabbing, Social Differentiation, Intensified Migration and Food Security in Northern Ghana. The Journal of Peasant Studies, 44 (2), 421-444.
Pearce, F. (2012). The Land Grabbers: The New Fight Over Who Owns the Earth. Boston: Beacon Press.
Polanyi, K. (2001 [1944]). The Great Transformation: The Political and Economic Origins of Our Time. Boston: Beacon Press.
White, C. P. (1982). Socialist Transformation of Agriculture and Gender Relations: the Vietnamese Case. Bulletin, 3(4), 44-51.