การครองอำนาจนำของสหรัฐอเมริกา : ศึกษาบทบาทการต่อต้านการทำรัฐประหารในพม่าของสหรัฐอเมริกา
The United States Hegemony: A Study of the United States' Role in the Myanmar Coup
Keywords:
สหรัฐอเมริกา, การรัฐประหารในพม่า, การครองอำนาจนำ, USA, Coup in Myanmar, HegemonyAbstract
บทความนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาเกี่ยวกับกระบวนการในการครองอำนาจนำของสหรัฐอเมริกาภายใต้บริบทของการเข้าไปมีบทบาทในการต่อต้านการรัฐประหารในพม่าในปี พ.ศ. 2564 ผ่านการอาศัยกรอบแนวคิดเรื่องการครองอำนาจนำ ของอันโตนิโอ กรัมชี่ (Antonio Gramsci) ในการศึกษาปรากฏการณ์ดังกล่าว จากผลการศึกษาพบว่า กระบวนการในการครองอำนาจนำของสหรัฐอเมริกาในครั้งนี้ มีกระบวนการอยู่ 2 รูปแบบ คือ 1. กระบวน การครองอำนาจนำทางการเมือง 2. กระบวนการครองอำนาจนำทางวัฒนธรรม ซึ่งทั้งสองกระบวนการนี้เป็นการผสมผสานกันในเรื่องของการใช้อำนาจในรูปแบบในโลกยุคโลกาภิวัตน์ นั่นคือ การใช้อำนาจแบบบีบบังคับ ผสมผสานกับการสร้างความยินยอมพร้อมใจ The purpose of this article is to study the Hegemony of the United States within the Anti-coup context of Myanmar in 2021, by using the Antonio Gramsci Hegemony framework. According to the results of the study, the dominance of the United States was found to occur from 2 processes: 1. The process of dominating politics, 2. The process of dominating culture. Both of these processes are a combination the powers of coercion and consent in a globalized world.References
กาญจนา แก้วเทพ และสมสุข หินวิมาน. (2551). สายธารแห่งนักคิดทฤษฎี เศรษฐศาสตร์การเมืองกับการสื่อสาร. กรุงเทพฯ: ภาพพิมพ์.
ชาญเชาวน์ ไชยานุกิจ. (2556). สานสัมพันธ์พม่า - สหรัฐฯ: ไม่มีมิตรแท้และศัตรูถาวร. วันที่ค้นข้อมูล 10 มีนาคม 2564. เข้าถึงได้จาก https://www.bangkokbiznews.com/blog/detail/ 507716
ไชยรัตน์ เจริญสินโอฬาร. (2549ก). รัฐ-ชาติกับ (ความไร้) ระเบียบโลกชุดใหม่. กรุงเทพฯ: วิภาษา.
ไชยรัตน์ เจริญสินโอฬาร. (2549ข). อำนาจไร้พรหมแดน: ภาษา วาทกรรม ชีวิตประจำวันและโลกที่เปลี่ยนแปลง. กรุงเทพฯ: วิภาษา.
ไทยรัฐออนไลน์. (2564). มาตรการคว่ำบาตรพม่า หมัดหนักจากชาติตะวันตก. วันที่ค้นข้อมูล 25 เมษายน 2564. เข้าถึงได้จาก https://www.thairath.co.th/news/foreign/
ประกิต ประสิทธิ์ศุภผล. (2558). ประชาธิปไตยในยุคโลกาภิวัตน์. วารสารศาลรัฐธรรมนูญ, สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 17(51), 64-74.
ประชาไท. (2550). โฉมหน้าเผด็จการพม่า จาก SLORC ถึง SPDC และความหวังประชาชน. วันที่ค้นข้อมูล 30 เมษายน 2564. เข้าถึงได้จาก https://prachatai.com/journal/2007/10/23757
ผู้จัดการออนไลน์. (2564). หลายชาติร่วมประณามทหารพม่า ออกมาตรการคว่ำบาตรเหล่านายพลบีบให้ยกเลิก รัฐประหาร. วันที่ค้นข้อมูล 25 เมษายน 2564. เข้าถึงได้จาก https://mgronline.com/indochina/detail/ 9640000027797
ลือชา การณ์เมือง. (2560). พัฒนาการการปฏิรูปทางการเมืองของประเทศพม่าในช่วงปี ค.ศ. 2008 – 2014. Veridian E-Journal ฉบับภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์และศิลปะ, มหาวิทยาลัยศิลปากร, 10(3), 1100-1111.
วัชรพล พุทธรักษา. (2550). แนวความคิดการครองอำนาจนำ (Hegemony) ของกรัมชี (Gramsci) : บททดลอง เสนอในการอธิบายปรากฏการณ์ทางการเมืองไทย. บทความนำเสนอในการประชุมวิชาการรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ ครั้งที่ 8 ณ ศูนย์ประชุมนานาชาติไบเทค บางนา วันที่ ธันวาคม 2550.
วัชรพล พุทธรักษา. (2557). บทสำรวจความคิดทางการเมืองของ อันโตนิโอ กรัมชี่. กรุงเทพฯ: สมมติ
ศิพิมพ์ ศรบัลลังก์. (2562). บทสำรวจทฤษฎีความสัมพันธ์ระหว่างประเทศเบื้องต้น. วารสารนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ, 10(1), 53-77
สมลักษณ์ ศรีราม และอุดมพร ธีระวิริยะกุล. (2559). สมเด็จฮุนเซน กับการครองอำนาจนำทางการเมืองในกัมพูชา. วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้, 4(2), 94-112.
อับดุลเลาะ วันอะฮ์หมัด. (2559). การถูกละเมิดสิทธิของโรฮิงญาในประเทศพม่า คือการก่ออาชญากรรมต่อมวลมนุษยชาติ. วันที่ค้นข้อมูล 24 กุมภาพันธ์ 2564. เข้าถึงได้จาก https://www.fatonionline.com/3125
เอนกชัย เรืองรัตนากร. (2555). การเมืองของมาตรการลงโทษทางเศรษฐกิจของสหรัฐอเมริกาต่อพม่า.วิทยานิพนธ์ รัฐศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาวิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ, คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
AP NEWS. (2564). Stepping up Myanmar coup penalties, US suspends trade deal. Retrieved July 14, 2021, from https://apnews.com/article/aung-san-suu-kyi-global-trademyanmar-asia-katherinetai52ca0e22231ddd702043240054d98c19?fbclid=IwAR1kJVhmEon5Qh3we-y0LMBCfp MwkBhORq7abUn3TjXGBeL-fEfrbA8uasc
BBC NEWS. (2564). รัฐประหารเมียนมา : ทำไมต้องทำตอนนี้แล้วจะเกิดอะไรขึ้นต่อไป. วันที่ค้นข้อมูล 24 กุมภาพันธ์ 2564. เข้าถึงได้จาก https://www.bbc.com/thai/international-55885495
CNN. (2564). What’s happening in Myanmar and what the Biden administration is trying to do about it. วันที่ค้นข้อมูล 14 กรกฎาคม 2564. เข้าถึงได้จาก https://edition.cnn.com/2021/04/13/politics/myanmar-explainer-us/index.htm
Herman, S. (2557). ประเด็นเรื่องการละเมิดสิทธิมนุษยชนในพม่าน่าจะเป็นหัวข้อที่ได้รับความสนใจช่วงการ ประชุมสุดยอดอาเซียน. วันที่ค้นข้อมูล 24 กุมภาพันธ์ 2564. เข้าถึงได้จาก https://www.voathai.com/a/asean-myanmar-ro-6nov14/2511520.html
Khaosod Online. (2564). พม่าสังเวยปราบม็อบพุ่ง 520 ศพ สหรัฐสั่งอพยพทูต ญี่ปุ่นระงับอีกช่วยเผด็จการ. วันที่ค้นข้อมูล 11 กรกฎาคม 2564. เข้าถึงได้จาก https://www.khaosod.co.th/ aroundthe-world-news/news_6243838
The White House. (2564). FACT SHEET: Biden-Harris Administration Actions in Response to the Coup in Burma. วันที่ค้นข้อมูล 11 กรกฎาคม 2564. เข้าถึงได้จาก https://www.whitehouse.gov/briefing-room/statements-releases/ 2021/02/11/fact sheetbiden-harris-administration-actions-in-response-to-the-coup-inburma/?fbclid=IwAR3zlKNB3NVXTDYeDP77 dlQnEXTzOGzmyqbWr_ Ho87wHvvRvx3nGROr9RdM
U.S. Department of State. (2564). U.S. Relations with Burma. วันที่ค้นข้อมูล 11 กรกฎาคม 2564. เข้าถึงได้จาก https://www.state.gov/u-s-relations-with-burma/
Voice online. (2555). ชี้สหรัฐเบียดอิทธิพลจีนในพม่า. วันที่ค้นข้อมูล 10 มีนาคม 2564. เข้าถึงได้จาก https://www.voicetv.co.th/read/56718
Wai Yan Phone. (2557). การละเมิดสิทธิมนุษยชนในพม่าและบทบาทของชาตินิยมแห่งพระพุทธศาสนา. วันที่ค้นข้อมูล 24 กุมภาพันธ์ 2564. เข้าถึงได้จาก https://www.openglobalrights. org/human-rights-abuse-in-burma-and-role-of-buddhistnationalism/?lang=Thai