การเปลี่ยนแปลงภูมิทัศน์การพัฒนาในพื้นที่หลังบ้านอีอีซี: การช่วงชิงพื้นที่ ความหมายที่ไม่ตายตัว และการสถาปนาอำนาจเหนือดินแดน

The Developmental Landscape Change in the EEC Backyard: Contesting Space, Unbound Fixed Meanings and Territorialization

Authors

  • กัมปนาท เบ็ญจนาวี

Keywords:

การช่วงชิงพื้นที่, ความหมายที่ไม่ตายตัว, การสถาปนาอำนาจเหนือดินแดน, ภูมิทัศน์การพัฒนา, หลังบ้านอีอีซี, Contesting Space, Unbound Fixed Meanings, Territorialization, The Developmental Landscapes, The EEC Backyard

Abstract

เป้าหมายของงานนี้ คือ การแสดงให้เห็นภาพของอำนาจของความรู้ เรื่องเล่า และเครื่องมือที่ถูกใช้เพื่อประกอบสร้างภูมิทัศน์การพัฒนาใหม่ขึ้นมาเหนือพื้นที่เขตรอบนอกของโครงการเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกหรือโครงการอีอีซี (The Eastern Economic Corridor Project: EEC) ซึ่งทำให้วิถีชีวิตทางสังคมและทางนิเวศของผู้คนอยู่อาศัยบริเวณนี้ถูกรับรู้และถูกกำกับเปลี่ยนไปจากเดิม และสามารถทำให้คนในสังคมยอมรับการเปลี่ยนแปลงที่กำลังเกิดขึ้น สำหรับข้อถกเถียงของงาน ผู้เขียนใช้แนวคิดเรื่องพื้นที่ (Space) เพื่อช่วยทำให้เห็นถึงความหมายของภูมิทัศน์การพัฒนาที่ไม่ตายตัว โดยที่การเปลี่ยนแปลงของภูมิทัศน์การพัฒนาและความหมายของพื้นที่หลังบ้านอีอีซีในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา เกิดขึ้นจากการช่วงชิงการนิยามความหมายที่ยึดโยงกับการเติบโตทางเศรษฐกิจและการเปลี่ยนผ่านสู่อุตสาหกรรมใหม่  This article points out that the power of knowledge, narratives, and devices for shaping the new developmental landscapes in the border areas of the Eastern Economic Corridor Project (The EEC Project). It causes the social-ecological life of the people living in these areas aren't perceived and ordered like in the past and makes these people agree with the changes that are coming. This article argues that the developmental landscape and the meaning of the EEC backyard are changed through contesting meanings related to economic growth and transition to new industries. The author uses the concept of space to illustrate the unbound fixed meanings of developmental landscapes.

References

กมลศักดิ์ ตรีครุธพันธ์. (2549). การศึกษาความสัมพันธ์เชิงอำนาจ ระหว่าง รัฐ ชุมชน และกลุ่มผลประโยชน์: กรณีศึกษานิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด อำเภอเมือง จังหวัดระยอง. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, คณะเศรษฐศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

กรมโรงงานอุตสาหกรรม. (2561). โครงการพัฒนาพื้นที่อุตสาหกรรมอย่างมีศักยภาพเพื่อรองรับการลงทุน: รายงานสรุปสำหรับผู้บริหาร. กรุงเทพฯ: กรมโรงงานอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม.

กรุงเทพธุรกิจ. (2562). 'รมช.ศธ.' เตรียมดันปราจีนบุรีเข้ากลุ่มอีอีซี. วันที่ค้นข้อมูล 24 พฤษภาคม 2564, เข้าถึงได้จาก https://www.bangkokbiznews.com/social/844385

กองบรรณาธิการนักข่าวพลเมือง ไทยพีบีเอส. (2566). ฟังเสียงประเทศไทย: เสียงประชาชนเลือกอนาคตภาคตะวันออก. วันที่ค้นข้อมูล 28 มีนาคม 2566, เข้าถึงได้จาก https://thecitizen.plus/node/76232

กองบรรณาธิการนิตยสารธุรกิจที่ดิน. (2533). กลยุทธซื้อขายที่ดิน. กรุงเทพฯ: สยามเจอนัล.

กัมปนาท เบ็ญจนาวี. (2561). ชนชั้นเสี่ยงในเมืองท่องเที่ยว: กรณีศึกษาพนักงานเก็บขยะของเทศบาล. วารสารเศรษฐศาสตร์การเมืองบูรพา, 6(1), 95-117.

กัมปนาท เบ็ญจนาวี. (2562). อุตสาหกรรมในฐานะจักรกลในการขับเคลื่อน: ข้อเสนอการพัฒนาอุตสาหกรรมพื้นที่ชายฝั่งทะเลตะวันออกในมุมมองของภาคเอกชน. ใน รัฐปั่นป่วน: กระแสการเมือง ระบบโลก และการบริหารภาครัฐในยุค Disruption. ชลบุรี: คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา.

กัมปนาท เบ็ญจนาวี. (2563). การกีดกันจากที่ดินภายใต้วาทกรรมตลาดกับการต่อรองเพื่อการอ้างสิทธิ์เหนือที่ดินในจังหวัดนครนายก. วารสารเศรษฐศาสตร์การเมืองบูรพา, 8(2), 130-150.

กัมปนาท เบ็ญจนาวี. (2565). ชีวิตบนเส้นด้ายของเกษตรกรไทยในพื้นที่หลังบ้าน EEC. วันที่ค้นข้อมูล 14กุมภาพันธ์ 2566, เข้าถึงได้จาก https://www.the101.world/farmer-eec/

การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย. (2565). การประชุมรับฟังความคิดเห็นเพื่อคัดเลือกที่ตั้งนิคมอุตสาหกรรม. ฉะเชิงเทรา: การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย.

กิตติพงศ์ สนธิสัมพันธ์. (2560). จากอีสเทิร์นซีบอร์ดสู่ ‘EEC’: การพัฒนาที่คนภาคตะวันออกไม่มีสิทธิ์เลือก?. วันที่ค้นข้อมูล 28 มีนาคม 2566, เข้าถึงได้จาก https://themomentum.co/eec-watch/

เครือข่ายองค์กรชุมชนจังหวัดปราจีนบุรี. (2554). ลงมือทำ ร่วมแรงคนละไม้คนละมือ. ปราจีนบุรี: พริ้นโปร.

จักรกริช สังขมณี. (2559). พรมแดนของวิธีวิทยา วิธีวิทยาที่พรมแดน. วารสารสังคมวิทยามานุษยวิทยา, (1), 2-22.

จับตาปัญหาที่ดิน. (2562). ชาวบ้านหนองตีนนกคัดค้านโครงการท่าเรือบก. วันที่ค้นข้อมูล 15 กันยายน, เข้าถึงได้จาก https://www.facebook.com/watch/?v=4393387568 38051

ชัยณรงค์ เครือนวน. (2558). ‘ปฏิบัติการและการต่อสู้ทางวาทกรรมในการพัฒนาอุตสาหกรรม: ศึกษากรณีการพัฒนาอุตสาหกรรมภายใต้ตัวแบบมาบตาพุด. วารสารการเมือง การบริหาร และกฎหมาย, (2), 223-245.

ชัยณรงค์ เครือนวน. (2559). วาทกรรมและปฏิบัติการทางวาทกรรมเพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาอุตสาหกรรมของชนชั้นนำไทยและพันธมิตร: ศึกษาการพัฒนาอุตสาหกรรมภายใต้ตัวแบบมาบตาพุด. วารสารเศรษฐศาสตร์การเมืองบูรพา, 4(2), 129-152.

ชัยณรงค์ เครือนวน, จิรายุทธ์ สีม่วง และกัมปนาท เบ็ญจนาวี. (2559). ทางเลือกการพัฒนาอุตสาหกรรมพื้นที่ชายฝั่งทะเลตะวันออกในมุมมองของรัฐ เอกชนและภาคประชาชน. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.

ชัยณรงค์ เครือนวน และพิมพ์ประไพ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา. (2564). เศรษฐศาสตร์การเมืองว่าด้วยการพัฒนา: ศึกษาการพัฒนาเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.

ชัยยนต์ ประดิษฐ์ศิลป์ และคณะ. (2550). โครงการสำรวจความคิดเห็นเรื่องการรับรู้ปัญหาและการจัดการมลพิษของประชาชนในเขตเทศบาลมาบตาพุด จังหวัดระยอง. ชลบุรี: ศูนย์จัดการระบบสุขภาพภาคตะวันออกมหาวิทยาลัยบูรพา.

ทิตติกาญจน์ วังมี. (2566). เลือกได้ไหม ? คนภาคตะวันออกบอกความต้องการนโยบายของพื้นที่. วันที่ค้นข้อมูล 28 มีนาคม 2566, เข้าถึงได้จาก https://thecitizen.plus/node/76315

ทีมข่าววาระทางสังคม ไทยพีบีเอส. (2562). "ผังเมือง" เครื่องมือพัฒนาอีอีซี หรือ ผลประโยชน์กลุ่มทุน?. วันที่ค้นข้อมูล 14 กุมภาพันธ์ 2566, เข้าถึงได้จาก https://www.thaipbs.or.th/news/ content/283884

ไทยพีบีเอส. (2562ก). แกะรอยใบเบิกทางขยะพิษ จ.สระแก้ว. วันที่ค้นข้อมูล 15 กันยายน 2565, เข้าถึงได้ จาก https://www.thaipbs.or.th/news/content/281600

ไทยพีบีเอส. (2562ข). คดีขยะพิษ (ไม่) จบ. วันที่ค้นข้อมูล 15 กันยายน 2565, เข้าถึงได้จาก https://www.youtube.com/watch?v=Q2_5Uy1aVhQ

ธีรพงศ์ ไชยมังคละ. (2551). การขยายพื้นที่นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด: กรณีศึกษากลุ่มผลประโยชน์ภายในนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, คณะเศรษฐศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

เนตรทราย นิสสัยสุข. (2556). ผลกระทบจากการพัฒนาอุตสาหกรรมอีสเทิร์นซีบอร์ด ระยอง กรณีศึกษาชุมชนตำบลมาบยางพร อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง. วิทยานิพนธ์รัฐประสานศาสตรมหาบัณฑิต, วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ, มหาวิทยาลัยบูรพา.

บ้านเมือง. (2563). EEC กับภารกิจหน้าที่ของกรมโยธาธิการและผังเมือง. วันที่ค้นข้อมูล 14 มีนาคม 2565, เข้าถึงได้จาก https://www.banmuang.co.th/news/economy/201523

ประชาชาติธุรกิจออนไลน์. (2560). "ปราจีนบุรี" ดันอุตสาหกรรมเต็มสูบ เพิ่มผังเมือง สีม่วง-เครือข่ายโลจิสติกส์. วันที่ค้นข้อมูล 24 มิถุนายน 2563, เข้าถึงได้จาก http://www.prachachat.net/news_detail.php?newsid =1488172767

ประชาชาติธุรกิจออนไลน์. (2563ก). ปราจีน-ปากน้ำขอแจ้งเกิดอีอีซี โรงงานพาเหรดแห่เข้า newS-curve. วันที่ค้นข้อมูล 24 พฤษภาคม 2564, เข้าถึงได้จาก https://www.prachachat.net/economy/news-556689

ประชาชาติธุรกิจออนไลน์. (2563ข). นิคม 304 ดันปราจีนฯเข้า EEC มั่นใจมีศักยภาพไม่แพ้ 3 จังหวัด. วันที่ค้นข้อมูล 24 พฤษภาคม 2564, เข้าถึงได้จาก https://www.prachachat.net/economy/ news-557293

ประชาชาติธุรกิจออนไลน์. (2565). ครม.อนุมัติศูนย์ธุรกิจอีอีซี ใช้ที่ดิน ส.ป.ก.15,000 ไร่ ลงทุน 1.34 ล้านล้าน. วันที่ค้นข้อมูล 27 มีนาคม 2565, เข้าถึงได้จาก https://www.prachachat.net/economy/news-892265

ประชาไท. (2565ก). เขาดิน: ชีวิตขาลงของ(ชาว)นาขาวัง. วันที่ค้นข้อมูล 15 กันยายน 2565, เข้าถึงได้จาก https://www.youtube.com/watch?v=wPS4IcGNgoA

ประชาไท. (2565ข). โยธะกาในสุญญากาศ. วันที่ค้นข้อมูล 15 กันยายน 2565, เข้าถึงได้จาก https://www.youtube.com/watch?v=OOGItg_7emQ

ประชาไท. (2565ค). ลมหายใจแห่งกรอกสมบูรณ์. วันที่ค้นข้อมูล 15 กันยายน 2565, เข้าถึงได้จาก https://www.youtube.com/watch?v=8HnUzgoWrPs

ประอรพิต กัษฐ์วัฒนา. (2561). เปิดโปรเจค เชื่อม EEC สู่ กัมพูชา ด้วย นิคมอุตสาหกรรมบ่อทอง 33 จ.ปราจีนบุรี. วันที่ค้นข้อมูล 24 มิถุนายน 2563, เข้าถึงได้จาก https://www.salika.co/2018/07/20/eec-industrial-area-thailand-cambodia/

พรพนา ก๊วยเจริญ และคณะ. (2564). นาขาวัง: สีผังเมือง และนัยทางนิเวศปากแม่น้ำบางปะกง. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.).

ภารดี มหาขันธ์. (2555). การตั้งถิ่นฐานและพัฒนาการของภาคตะวันออกยุคปรับปรุงประเทศตามแบบสมัยใหม่ถึงปัจจุบัน. วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 20(34), 111-132.

มนตรา พงษ์นิล. (2561). อำนาจชีวะเหนือผังเมือง: การเผยตัวของทุนนิยมและการพัฒนาในสุญญากาศของผังเมืองรวมเมืองพะเยา. พะเยา: คณะรัฐศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา.

รุ้งนภา ยรรยงเกษมสุข. (2560). การทบทวนและปรับยุทธศาสตร์การพัฒนาของโครงการพัฒนาพื้นที่ชายฝั่งทะเลตะวันออกสู่การเป็นประเทศอาเซียนในจังหวัดปราจีนบุรี: กรณีการวางผังเมืองเพื่อการพัฒนาอุตสาหกรรม. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.

เรวดี แก้วมณี. (ม.ป.ป.). จับตาระยอง ชลบุรี และฉะเชิงเทรากลุ่มจังหวัดเป้าหมายในการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EEC). กรุงเทพฯ: สำนักนโยบายอุตสาหกรรมมหภาค (สม.).

วินยาภรณ์ พราหมณโชติ. (2562). บทวิจารณ์เขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก: ศักยภาพและโอกาสการลงทุน. วารสารการบริหารท้องถิ่น, 12(1), 73-86.

วิมลรัตน์ ธัมมิสโร. (2560). ปากคำ ‘กัญจน์ ทัตติยกุล’ ‘บูรพา’ ที่คนตะวันออก (อยาก) ออกแบบ. วันที่ค้นข้อมูล 28 มีนาคม 2566, เข้าถึงได้จาก https://greennews.agency/?p=15923

ศรัญญา คันธาชีพ. (2540). พัฒนาการทางเศรษฐกิจลุ่มแม่น้ำบางปะกง พ.ศ. 2419-2475. วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ศิริวุฒิ วรรณทอง. (2563). แนวทางการพัฒนาจังหวัดปราจีนบุรีสู่ความเป็นเลิศชายขอบ EEC. วิชาการมนุษย์และสังคม มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ, 4(1), 15-32.

สกฤติ อิสริยานนท์ และคณะ. (2560). ชุดโครงการการทบทวนและการปรับยุทธศาสตร์การพัฒนาของโครงการพัฒนาพื้นที่ชายฝั่งทะเลตะวันออกสู่การเป็นประเทศอาเซียน. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.

สมนึก จงมีวศิน. (2562). นักวิชาการเตือน EEC เสี่ยงขาดแคลนน้ำ. วันที่ค้นข้อมูล 8 กุมภาพันธ์ 2565, เข้าถึงได้จาก http://landwatchthai.org/2914

สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. (ม.ป.ป.). โครงการวางผังเมืองรองรับอุตสาหกรรมและโลจิสติกส์ จังหวัดปราจีนบุรี. วันที่ค้นข้อมูล 24 มกราคม 2563, เข้าถึงได้จาก http://prachinburi.go.th/ kmprachin/files/LOGIS.pdf

สาลิกา. (2564). EEC และอุตสาหกรรมเป้าหมาย ความหวังของไทยในการฟื้นฟูเศรษฐกิจ (ตอนที่ 1). วันที่ค้นข้อมูล 19 ตุลาคม 2565, เข้าถึงได้จาก https://www.salika.co/2021/09/03/eec-and-target-industries-hope-for-fast-forward-thai-economic/

สำนักงานคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก. (2562). ความเป็นมาของ อีอีซี. วันที่ค้นข้อมูล 30 มีนาคม 2565, เข้าถึงได้จาก https://www.eeco.or.th/th/government-initiative

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2559). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560-2564. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2560). ตารางผลิตภัณฑ์ภาคและจังหวัด แบบปริมาณลูกโซ่ อนุกรมเวลา 2538-2559. วันที่ค้นข้อมูล 25 ธันวาคม 2560, เข้าถึงได้จาก http://www.nesdb.go.th/ewt_dl_link.php?nid=5627&filename=gross_regional

สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2545). รายงานสำมะโนธุรกิจการค้าและธุรกิจทางการบริการ พ.ศ. 2545 จังหวัดปราจีนบุรี. กรุงเทพฯ: สำนักงานสถิติแห่งชาติ.

สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2555). รายงานสำมะโนธุรกิจและอุตสาหกรรม พ.ศ. 2555 ข้อมูลพื้นฐานจังหวัดปราจีนบุรี. กรุงเทพฯ: สำนักงานสถิติแห่งชาติ.

สำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดปราจีนบุรี. (2560). การจัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาอุตสาหกรรมจังหวัดปราจีนบุรี ประจำปี 2561-2564. ปราจีนบุรี: สำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดปราจีนบุรี.

สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี. (2565). ครม.เห็นชอบ สกพอ. เข้าใช้ประโยชน์ที่ดิน ส.ป.ก. 14,619 ไร่เพื่อพัฒนาโครงการศูนย์ธุรกิจ EEC และเมืองใหม่น่าอยู่อัจฉริยะ คาดสร้างการลงทุน 1.34 ล้านล้านบาท. วันที่ค้นข้อมูล 27 มีนาคม 2565, เข้าถึงได้จาก https://www.thaigov.go.th/news/contents/ details/52813

สุปรีชญา บุญมาก และคณะ. (2562). จาก Eastern Seaboard สู่ EEC การพัฒนาพื้นที่เศรษฐกิจไทยในภูมิภาคตะวันออก. ใน งานประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 11 (1381-1389). นครปฐม: มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม.

สุริชัย หวันแก้ว และคณะ. (2543). ผลกระทบทางสังคมจากการพัฒนาอุตสาหกรรมชายฝั่งทะเลตะวันออกต่อชุมชนท้องถิ่น. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อัญชลี มีบุญ. (2556). วิถีชีวิตชาวนาลุ่มน้ำปราจีนบุรี พ.ศ. 2398 ถึง พ.ศ. 2549. ดุษฎีนิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต, คณะมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์, มหาวิทยาลัยบูรพา.

อารตี อยุทธคร. (2564). ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออกและเครือข่ายทุนจีนข้ามชาติ. เชียงใหม่:มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

อำพิกา สวัสดิวงศ์. (2545). ถนนสุขุมวิทกับพัฒนาการทางเศรษฐกิจในภาคตะวันออกของประเทศไทย พ.ศ. 2447-2539. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, คณะศิลปศาสตร์, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

โอฬาร ถิ่นบางเตียว. (2557). จังหวัดระยอง: จากเศรษฐกิจชุมชนถึงทุนนิยมโลกาภิวัตน์. วารสารเศรษฐศาสตร์การเมืองบูรพา, 2(1), 47-71.

โฮมบายเออร์ไกด์. (2556). กบินทร์บุรี เมืองอุตสาหกรรมใหม่ตลาดอสังหาริมทรัพย์แห่งใหม่. วันที่ค้นข้อมูล 24 กรกฎาคม 2563, เข้าถึงได้จาก https://www.home.co.th/news/topic-23720

Aronovitch, H. (2012). Interpreting Weber’s Ideal Type. Philosophy of Social Sciences, 42(3), 356-369.

Barney, K. (2004). Re-encountering Resistance: Plantation Activism and Smallholder Production in Thailand and Sarawak, Malaysia. Asia Pacific Viewpoint, 45(3), 325-339.

Brenner, N., & Katsikis, N. (2020). Hinterlands of the Capitalocene. In Ed Wall (ed.). The Landscapists: Redefining Landscape Relations (pp. 23-31). Oxford: John Wiley & Sons.

Bristow, W. (2017). Enlightenment. Retrieved October 16, 2019, from https://plato.stanford.edu/ entries/enlightenment/#PolThe

Descartes, R. (1970). Discourse on Method and Other Writings. Sutcliffe, F. E. (trans.). Suffolk: The Chaucer Press.

Duignan, B. (2019). Enlightenment. Retrieved October 16, 2019, from https://www.britannica.com/event/Enlightenment-European-history

Elden, S. (2010). Land, Terrain, Territory. Progress in Human Geography, 34(6), 799-817.

Ganjanapan, A. (2008). Multiplicity of Community Forestry as Knowledge Space in the Northern Thai Highlands. Working Paper Series No.35, Afrasian Centre for Peace and Development Studies, Ryukoku University.

Giddens, A. (1996). The Consequences of Modernity. Oxford: Blackwell.

Gramsci, A. (1971). Selections from the Prison Notebooks. New York: International Publishers.

Gupta, A., & Ferguson, J. (1999). Beyond "Culture": Space, Identity, and the Politics of Difference. In Gupta, A and Ferguson, J. (eds.). Culture, Power, Place: Exploitations in Critical Anthropology. Durham: Duke University Press.

Hennings, A. (2016). Assembling Resistance Against Large-scale Land Deals: Challenges for Conflict Transformation in Bougainville, Papua New Guinea. ASEAS - Austrian Journal of South-East Asian Studies, 9(1), 33-52.

Hung, P., & Baird, I. (2017). From Soldiers to Farmers: The Political Geography of Chinese Kuomintang Territorialization in Northern Thailand. Political Geography, 58, 1-13.

Kant, I. (1784 [1959]). What is Enlightenment?. In Foundations of the Metaphysics of Morals and What is Enlightenment. Beck, L. W. (trans.). New York: Liberal Arts Press.

Kuper, H. (1972). The Language of Sites in the Politics of Space. American Anthropologist, 74 (3), 411-425.

Lamont, M., & Molnar, V. (2002). The Study of Boundaries in the Social Sciences. Annual Reviews Sociology, 28, 167-195.

Le Meur, P., & Lund, C. (2001). Everyday Governance of Land in Africa. Bulletin de l'APAD, 22,

-6.

Li, T. M. (2008). Articulating Indigenous Identity in Indonesia: Resource Politics and the Tribal Slot. In Dove, M. R. and Carpenter, C. (eds.). Environmental Anthropology: A Historical Reader. Oxford: Blackwell.

Li, T. M. (2014). What is Land? Assembling a Resource for Global Investment. the Royal Geographical Society, 39, 589-602.

Lund, C. (2002). Negotiating Property Institution: On the Symbiosis of Property and Authority in Africa. In Juul, K and Lund, C. (eds.). Negotiating Property in Africa. Portsmouth: Heinemann.

Mulhall, S. (1996). Heidegger and Being and Time. London: Routledge.

Neel, P. A. (2018). Hinterland: America’s New Landscape of Class and Conflict. London: Reaktion Books.

Newman, L. (2010). Descartes' Epistemology. Retrieved September 18, 2019, from https://plato.stanford.edu/archives/fall2010/entries/descartes-epistemology/

Ono, Y. (2018). Thailand Aims for Next Industrialization Wave: Economics Czar Aims to Woo High-tech Investment to Development Zone. Retrieved January 15, 2019, from https://asia.nikkei.com/Economy/Thailand-aims-for-next-industrialization-wave

Polanyi, K. (2001 [1944]). The Great Transformation: The Political and Economic Origins of Our Time. Boston: Beacon Press.

Pritchard, S. B., Wolf, S. A., & Wolford, W. (2016). Knowledge and the Politics of Land. Environment and Planning, 48(4), 616-625.

Rasmussen, M. B., & Lund, C. (2018). Frontier Spaces: Territorialization and Resource Control. Policy Briefs (Copenhagen Centre for Development Research), 1.

Rigg, J., Salamanca, A., & Parnwell, M. (2012). Joining the Dots of Agrarian Change in Asia: A

Year View from Thailand. World Development, 40(7), 1469–1481.

Rohlf, M. (2016). Immanuel Kant. Retrieved September 18, 2019, from https://plato.stanford.edu/entries/kant/

Sayer, A. (1992). Method in Social Science: A Realist Approach. New York: Routledge.

Ssorin-Chaikov, N. (2017). Two Lenins: A Brief Anthropology of Time. Chicago: Hau Books.

Vandergeest, P. (1996). Mapping Nature: Territorialization of Forest Rights in Thailand. Society and Natural Resources, 9(2), 59-175.

Wipatayotin, A., & Kongrut, A. (2020). Water Wars Looming. Retrieved February 18, 2022, from https://www.bangkokpost.com/business/1836554/water-wars-looming

Downloads

Published

2023-07-10