การประยุกต์ Relative Order ด้วยอนุพันธ์ Lie เพื่อคัดเลือกรูปแบบการควบคุม
Application of Relative Order under Lie Derivative to Classify the Control Configurations
Keywords:
ทฤษฎีความสามารถในการควบคุมได้เชิงโครงสร้าง, ดรรชนีการเชื่อมต่อ, ตารางอัตราขยายสัมพันธ์, structural controllability, decoupling index, relative gain arrayAbstract
ทฤษฎีความสามารถในการควบคุมได้เชิงโครงสร้างสามารถประเมินรูปแบบการควบคุมต่าง ๆ โดยใช้ความสัมพันธ์ของตัวแปรที่อยู่ในกระบวนการ งานวิจัยนี้ได้ทำการทดสอบต้นแบบการสร้างระบบควบคุมอัตโนมัติซึ่งใช้ความสามารถในการควบคุมได้เชิงโครงสร้างเป็นพื้นฐาน การวิเคราะห์ดรรชนีการเชื่อมต่อ (DI) ถูกนำมาประยุกต์ใช้ และใส่ลงไปในต้นแบบการควบคุมนี้เพื่อพัฒนากระบวนการทำงาน เทคนิคนี้ใช้พื้นฐานเดียวกับต้นแบบจึงทำให้สามารถทำงานร่วมกันได้ ดังนั้นอาจกล่าวได้ว่าดรรชนีการเชื่อมต่อมีบทบาทในการทำงานสนับสนุนดีกรีความสัมพันธ์ในกรณีที่ดีกรีความสัมพันธ์ไม่สามารถใช้บ่งชี้รูปแบบการควบคุมที่ดีที่สุดได้ กรณีศึกษาของโรงงานแปรสภาพแร่โมนาไซต์ พบว่าได้ผลการทดสอบเป็นที่น่าพอใจ การวิเคราะห์ดรรชนีการเชื่อมต่อจะเข้าไปมีบทบาท 29 block แบ่งได้ดังนี้ ดรรชนีการเชื่อมต่อมีบทบาทเต็มที่ 5 block ดรรชนีการเชื่อมต่อมีบทบาทพอสมควร 8 block ดรรชนีการเชื่อมต่อไม่มีบทบาท 8 block และดรรชนีการเชื่อมต่อไม่มีค่าสำหรับการเลือกอีก 16 block The structural controllability evaluates alternative control configurations by the relationship of process variables. This article focuses on the test of the prototype of an automatic control system based on structural analysis. An algorithm named DI analysis is applied to select the control configurations with the same relative order. It plays a supplementary role when the relative order fails to indicate the best control configuration. A case study of the pilot scale of monazite processing plant gives a good agreements. 29 blocks are investigated with DI analysis. We can nominate the best control structure from 5 blocks. The number of possible configurations can be reduced in 8 blocks. And it does not have any valuable value (DI value) for screening the last 16 blocks.References
Daoutidis, P., & Kravaris, C. (1992). Structural Evaluation of Control Configurations for Multivariable Nonlinear Processes, Chemical Engineering Science 47(5) (1992) 1091-1107.
Injarean, U. (2000). Mass Balance Process Modeling of Monazite Pilot Plant, Masters Degree Thesis, Kasetsart University, Bangkok, Thailand, 2000, 15-26.
Lee, B., Kim, Y., Shin, D., & Yoon, S.E. (2001). A Study on the Evaluation of Structural Controllability in Chemical Processes, Computers and Chemical Engineering, 25, 85-95.
Namkang, A. (2000). Prototype of automatic control system for pilot scale monazite processing plant, Masters Degree Thesis, Kasetsart University, Bangkok, Thailand. 256-324.
Srinophakun, T. (1996). Intelligent advisor for control system designers, Ph.D.Thesis, The university of Queensland, Queensland, Australia, 2-2 - 5-5.