การศึกษาแก้วเติมสำหรับรอยแตกบนทับทิม

Authors

  • อาภากร นุ้ยพิน
  • ณัฐพล ชมแสง
  • เอกรัฐ มีชูวาศ
  • ภูวดล วรรธนะชัยแสง

Keywords:

ทับทิม, อัญมณี, ยูวี-วิสิเบิลสเปกโทรโฟโตมิเตอร์

Abstract

            ศึกษาแกวเติมสําหรับรอยแตกบนทับทิมจากโมแซมบิค โดยเผาผงแกวรวมกับทับทิมดวยเตาไฟฟา ที่อุณหภูมิ 1000 องศาเซลเซียส ยืนอุณหภูมิเปนเวลา 1, 3 และ 5 ชั่วโมง ตรวจสอบสมบัติกายภาพการหาคาดัชนีหักเหและความถวงจําเพาะพลอยกอนและหลังเผา ถายภาพรอยแตกและมลทินพลอยกอนและหลังเผาดวยกลองจุลทรรศนแสง และหาการสะทอนแสงดวย ยูวี- วิสิเบิลสเปกโทรโฟโตมิเตอร ผลการทดลองพบวาดัชนีหักเหแสงและความถวงจําเพาะลดลงเนื่องจากดัชนีหักเหแสงและความถวงจําเพาะของแกวต่ำกวาทับทิม ตัวอยางทับทิมที่มีรอยแตกถูกประสานใหมีความใสขึ้น มีความสวยงามเพิ่มขึ้น นอกจากนี้ ผลการวิเคราะหการสะทอนแสงในชวง 350-750 nm พบวาการสะทอนแสงของพลอยไมมีการเปลี่ยนแปลงของ Cr3+ ซึ่งใหสีแดงกับพลอยทับทิม            The filling-glass for fissure surface of ruby has been studied. The ruby mixed with filled-glass powder was treated in electric furnace at 1000 °C for 1, 3 and 5 hours. The physical properties of as-received and treated samples were determined reflective index (RI) and specific gravity (SG). Fissure and inclusion of all samples were observed by optical microscope. Moreover, UV-Visible spectrophotometer was used to determine the reflective index in samples. The result reveals that RI and SG of treated sample were decreased because of low RI and SG of filled-glass. The result shows that the fissure surface on ruby was filled by glass and made clear surface. Moreover, the reflection in range 350-750 nm reveal that the reflection value of was not changed in Cr3+ given red color 

Downloads