ผลของความเข้มข้นของโอลิโกฟรุคโตสและซูโครสต่อลักษณะคุณภาพของกล้วยไข่หลังการออสโมซิส
Keywords:
ซูโครส, ฟรักโทส, กล้วยไข่, ออสโมซิส, โอลิโกฟรุคโตสAbstract
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาผลของความเขมขนของโอลิโกฟรุคโตส (30-50 กรัมตอ 100 กรัม) และซูโครส (10-20 กรัมตอ 100 กรัม) รวมกับการเติมโซเดียมคลอไรด 5 กรัมตอ 100 กรัม ในการเตรียมสารละลายออสโมติกตอลักษณะคุณภาพบางประการของกลวยไขหลังการออสโมซิส ผลการทดลองพบวา ความเขมขนของโอลิโกฟรุคโตสและซูโครสมีผลตอคาถายเทมวลสาร คาสี ความแนนเนื้อ ปริมาณของแข็งที่ละลายไดทั้งหมด และปริมาณน้ำตาลทั้งหมดของกลวยไขหลังการออสโมซิส (p<0.05) การใชโอลิโกฟรุคโตสและซูโครสในระดับสูงรวมกัน ทําใหกลวยไขมีปริมาณน้ำที่สูญเสีย (รอยละ 24.05) และปริมาณของแข็งที่เพิ่มขึ้น (รอยละ 2.35) สูงที่สุด (p<0.05) โดยกลวยไข่หลังการออสโมซิสมีคาตางๆ สูงที่สุด ดังนี้คือ คาการเปลี่ยนแปลงของสี (∆E) เทากับ 11.75 ความแนนเนื้อ 155.69 กรัม ปริมาณของแข็งที่ละลายไดทั้งหมด 44 องศาบริกซและปริมาณน้ำตาลทั้งหมดรอยละ 16.24 (p<0.05) The aim of this research was to study the effect of oligofructose (30-50 g/100 g) and sucrose (10-20 g/100 g) concentration together with sodium chloride (5 g/100 g) prepared for osmotic solution on some quality characteristics of osmosed Kluai Khai. The result showed that concentration of oligofructose and sucrose affected on mass transfer, color value, firmness, total soluble solid and total sugar content of osmosed Kluai Khai (p<0.05). It was found that at high level of oligofructose and sucrose combination Kluai Khai had the maximized water lose (24.05%) and solid gain (2.35%) (p<0.05). These osmosed Kluai Khai had the highest value in terms of: ∆E as 11.75, firmness as 155.68 gram, total soluble solid as 44 degree Brix and total sugar content as 16.24%. (p<0.05).Downloads
Issue
Section
Articles