คุณลักษณะเชิงโมเลกุลของลูกผสมข้ามสกุลระหว่างเอื้องดินใบหมากกับเอื้องดินใบไผ่ด้วยเทคนิคพีซีอาร์-อาร์แอฟแอลพี

Authors

  • อรวรรณ ไทยเจริญ
  • วิชาญ แฟงเมือง
  • อนุพันธ์ กงบังเกิด
  • มลิวรรณ นาคขุนทด

Keywords:

กล้วยไม้, การผสมพันธุ์พืช, เทคนิคพีซีอาร์-อาร์แอฟแอลพี

Abstract

            การศึกษาคุณลักษณะเชิงโมเลกุลของลูกผสมขามสกุลของกลวยไมเอื้องดินใบหมาก และเอื้องดินใบไผที่ไดจากการถายฝากและนําเมล็ดมาเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ ดวยเทคนิคพีซีอาร-อารเอฟแอลพี โดยการเพิ่มปริมาณดีเอ็นเอบริเวณ nrITS (nuclear ribosomal internal transcribed spacer) และตัดดวยเอ็นไซมตัดจําเพาะ 7 ชนิด พบวาเอนไซมตัดจําเพาะ 5 ชนิดใหรูปแบบ ที่เหมือนกัน ขณะที่ 2 ชนิดจะใหรูปแบบที่แตกตางกัน คือ AluI และ TaqI ซึ่งจากการสุมตัวอยางตนที่เกิดจากการถายฝากทั้งหมด 100 ตน ความนาจะเป็นที่จะไดลูกผสมจากการถายฝากเมื่อใชเอื้องดินใบหมากและเอื้องดินใบไผเปนแม คิดเปน 9.62% และ 8.33% ตามลําดับ            Molecular characterization by polymerase chain reaction - restriction fragment length polymorphism (PCR-RFLP) in nrITS (nuclear ribosomal internal transcribed sequence) of intergeneric hybrids between Spathoglottis plicata Bl. and Arundina graminifolia (D. Don) Hochr. was investigated. The intergeneric seeding originated from deposit pollination together with tissue culture technique. PCR-RFLP profiles were generated using seven restriction enzymes (REs). Two REs, AluI and TaqI, were restricted polymorphic bands profiling whereas the others five gave monomorphic. The studies showed that probability analysis of the hybrids on maternal S. plicata and A. graminifolia was 9.62% and 8.33%, respectively

Downloads