การวิเคราะห์ซูมาทริพแทนและอีลิทริพแทนโดยแคปปิลารีอิเลคโทรโฟรีซีส
Keywords:
คะพิลลารีอิเล็กทรอฟอเรซิส, ซูมาทริพแทน, อิลิทริพแทนAbstract
ในการศึกษาการวิเคราะหซูมาทริพแทนและอีลิทริพแทน โดยแคปปลารีอิเลคโทรโฟรีซีสดวยตัวตรวจวัดยูวี ภายใตสภาวะที่เหมาะสม สารสนใจสามารถแยกไดอยางสมบูรณภายใน 2 นาทีขีดจํากัดของการตรวจวัดและขีดจํากัดการหาปริมาณของซูมาทริพแทนและอีลิทริพแทนเทากับ 0.30 และ 0.60 มิลลิกรัมตอลิตร และ 0.90 และ 1.80 มิลลิกรัมตอลิตร ตามลําดับความเปนเสนตรงของซูมาทริพแทน (0.90-50.00 มิลลิกรัมตอลิตร) และอีลิทริพแทน (1.80-50.00 มิลลิกรัมตอลิตร) ใหคา R2 เทากับ 0.9993 และ 0.9994 ตามลําดับ คาเบี่ยงเบนมาตรฐานของไมเกรชั่นไทมของซูมาทริพแทนและอีลิทริพแทนนอยกวา 0.77% และคาเบี่ยงเบนมาตรฐานของพื้นที่ใตพีคของอีลิทริพแทนและอีลิทริพแทนนอยกวา 6.46% Analysis of sumatriptan and eletriptan by capillary electrophoresis with UV detection was studied. Under the optimized conditions, analytes could be completely separated within 2 min. Limits of detections and limits of quantitations of sumatriptan and eletriptan were 0.30 and 0.60mg/L, and 0.90 and 1.80 mg/L, respectively. Linearity of sumatriptan (0.90-50.00 mg/L) with R2 = 0.9993 and eletriptan (1.80-50.00 mg/L) with R2 = 0.9994 were obtained. Relative standard deviations of migration times of sumatriptan and eletriptan were less than 0.77%. Relative standard deviations of peak areas of sumatriptan and eletriptan were less than 6.46%.Downloads
Issue
Section
Articles