ฤทธิ์ของพืชสมุนไพรพื้นบ้านจากโครงการพัฒนาป่าชุมชนบ้านอ่างเอ็ด (มูลนิธิชัยพัฒนา) ต่อเอนไซม์ Cytochrome P450 2A6
Keywords:
พืชสมุนไพร, ป่าชุมชน, นิโคติน, ไซโตโครมพี-450Abstract
เอนไซม CYP2A6 ที่พบมากที่ตับ มีหนาที่สําคัญในการเรงปฏิกิริยาการยอยสลายสารนิโคตินในบุหรี่ : ซึ่งสงผลโดยตรงตอพฤติกรรมการสูบบุหรี่ทําใหตองการสูบบุหรี่เพิ่มมากขึ้น งานวิจัยนี้ทําการทดสอบฤทธิ์ของสารสกัดพืชสมุนไพรพื้นบ้านจากโครงการปาชุมชนบานอางเอ็ด (มูลนิธิชัยพัฒนา) ที่ปราชญชาวบานใชใหการรักษาชาวบานที่มีตอการทํางานของเอนไซม CYP2A6 ในหลอดทดลองผลการศึกษาพบวาสารสกัดพืชสมุนไพรออกฤทธิ์ตอเอนไซม CYP2A6 แตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่คา p-value < 0.05 โดยสารสกัดพืชสมุนไพรที่ออกฤทธิ์กระตุน CYP2A13 ไดดีไดแก รากตนระยอมนอย รากตนคางคาวดํา ใบตนเข็มไอเดีย เปนตน และสารสกัดพืชสมุนไพรที่ออกฤทธิ์ยับยั้ง CYP2A6 ไดดีไดแก ใบตนเบญจมาศแมว รากตนเข็มไอเดียใบตนมะฮึกใบตนลายกนกใบดีงูตน เปนตน The liver specific cytochrome P4502A6 (CYP2A6) plays an important role in degrading of tobacco specific nicotine, and excreting nicotine through urine. Interestingly, genetic polymorphism and enzymatic activity of CYP2A6 associated with smoking behavior. In this study, the effect of herb extracts from Ban-Ang-Ed official community forest project on CYP2A6 enzymatic activity (in vitro) based on local intellectual suggestion for health treatment for local resident were investigated. The results significantly showed the effect of plant extracts on CYP2A6 activity (p-value < 0.05). In this study, the Rauvolfia sp (roots), the Tacca chantrieri (roots), the Aidia wallichiana (leaves) could activate CYP2A13 enzyme activity. On the other hand, the Ageratum conyzoides (leaves), the Aidia wallichiana (roots), Mahug (leaves), and Laykanok (leaves) could inhibit CYP2A13 enzyme activity in vitroDownloads
Issue
Section
Articles