การเปรียบเทียบประสิทธิภาพการทำงานของตู้ฟักไข่แบบขดลวดความร้อนและแบบเทอร์โมอิเล็กตริก

Authors

  • เอกชัย สิงหเดช
  • ธวัช สุริวงษ์
  • สมชาย เจียจิตต์สวัสดิ์
  • ประพิธาริ์ ธนารักษ์

Keywords:

ไข่, การฟัก, เครื่องจักรกล, เทอร์โมอิเล็กทริซิตี้

Abstract

            งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงคในการนําอุปกรณทําความรอนแบบใหมคือแผน “เทอรโมอิเล็กตริก” มาแทนขดลวดความรอนที่ใชกับตูฟกไขที่มีการจําหนายทั่วไปตามทองตลาด จากการทดสอบการควบคุมอุณหภูมิความชื้นสัมพัทธปริมาณการใชพลังงานไฟฟ้าคาใชจายดานไฟฟา และการเปรียบเทียบประสิทธิภาพเชิงความรอนในเทอมของอัตราสวนประสิทธิภาพพลังงาน (EER) ผลการทดสอบพบวา การควบคุมอุณหภูมิภายในตูฟกไข่แบบเทอร์โมอิเล็กตริกสามารถทําอุณหภูมิอยู่ในช่วงที่เหมาะสมตอการฟกไข คือ 36-38oC และมีการแกวงของอุณหภูมิอยูในชวงแคบๆ เมื่อเทียบกับตูฟกไขแบบขดลวดความรอนที่มีอุณหภูมิสูงกวามาตรฐานการฟกไขและมีการแกวงของอุณหภูมิในชวงที่กวางมากกวา ตูฟกไขแบบเทอรโมอิเล็กตริกสามารถควบคุมความชื้นสัมพัทธที่เหมาะสมตอการฟกไขในชวง 75-80% ไดดีกวาแบบขดลวดความรอน การเปรียบเทียบปริมาณการใชพลังงานไฟฟาของตูฟกไขแบบเทอรโมอิเล็กตริกใชพลังงานไฟฟา 28.22 หนวย ซึ่งนอยกวาตูฟกไขขดลวดความรอนประมาณ 2.14 เทา ลดคาใชจายได 103.2 บาทตอการฟกไขหนึ่งรอบ หรือมีคาใชจายลดลงคิดเปน 53.4% นอกจากนี้ตูฟกไขแบบเทอรโมอิเล็กตริกใหอัตราสวนประสิทธิภาพพลังงานที่สูงกวาตูฟกไขแบบขดลวดความรอนประมาณ 1.4 เทา            In the present study, the objective is to initiate a new heating device, “thermoelectric module (TE)” to replace the electrical heating coil (HC) in the commercial egg incubator. From the experiments of temperature and relative humidity control, electricity consumption, and comparison of their thermal performance in term of Energy Efficiency Ratio (EER), it was found that temperature control of the TE egg incubator is not only able to maintain the temperature in a suitable range of natural hatching (36-38oC) but also reduce the temperature fluctuation as compared with that of the HC egg incubator, which has higher inside temperature and fluctuation. Relative humidity Percentage of TE egg incubator was more appropriate than that of the HC egg incubator in range 75-80%. The electrical energy consumption of TE egg incubator was 28.22 units, which lower than HC egg incubator about 2.14 times. Similarly, electricity costs of the TE egg incubator were lower than HC egg incubator around 53.4% or 103.2 baht per incubation round. In addition, it was found that EER of the TE egg incubator was higher than that of the HC egg incubator as 1.4 times.

Downloads