การประเมินแผ่นหินอ่อนด้วยสมรรถนะการเลื่อยและการแผ่รังสีความร้อน

Authors

  • ดนุพล ตันนโยภาส
  • สิทธิญาณ ลิวา
  • สุชาติ จันทรมณีย์

Keywords:

ความหนาแน่นรวม, การแผ่รังสีความร้อน, การดูดซึมน้ำ, ความเร็วในการตัด, กำลังอัด

Abstract

        ศึกษาวิธีการใหม่สำหรับสร้างความสัมพันธ์ระหว่างการตัดด้วยเลื่อยกับสมบัติของแผ่นหินอ่อนห้าชนิดที่ต่างกัน โดยตรวจสอบสมบัติทางกายภาพ ได้แก่ ความหนาแน่นรวม การดูดซึมน้ำ ความต้านทานไฟฟ้าจำเพาะ การแผ่รังสีความร้อน และสมบัติเชิงกล ได้แก่ ความแข็งแบบชอร์ ความเร็วในการตัด กำลังอัดแกนเดียว แผ่นหินอ่อนทั้งหมดให้ความร้อนที่อุณหภูมิ 150  200  และ 250 องศาเซลเซียส และวัดการแผ่รังสีความร้อนด้วยเครื่องตรวจรังสีใต้แดงบนหน้าผิวด้านในและหน้าผิวขัดมัน สหสัมพันธ์ระหว่างสมบัติทางกายภาพและทางกลของตัวอย่างหินอ่อนกับความเร็วในการตัดเฉพาะของเลื่อยได้พัฒนาด้วยวิธีการถดถอยเชิงเส้น ผลทดสอบพบว่าความแข็งแบบชอร์มีค่า 526-566 ความเร็วในการตัดมีค่า 33.06-65.02 ตารางมิลลิเมตรต่อวินาที และกำลังอัดมีค่า 26.22-79.29 เมกะพาสคัล ได้บ่งว่าความแข็งแบบชอร์มีสหสัมพันธ์อย่างแนบแน่นกับความเร็วของเลื่อยในการตัดหิน แต่การแผ่รังสีความร้อนคงอภิปรายผล          A new method for establishing the relations between saw c cutting and some properties of five different marble slab types was investigated. The operation is carried out in consideration with the physical properties (bulk density, water absorption, electrical resistivity, heat radiation) and the mechanical properties (Shore hardness, speed of cut, uniaxial compressive strength). Some slab specimens were heated at temperature of 150, 200 and 250 Celsius degree and measured via infrared detector on inner side and polished surfaces. Correlations between physical and mechanical properties of the marbles with specific cutting speed of the saw are developed using linear regression method. Testing results were Shore hardness of 526-566, cutting speed of 33.06-65.02 mm2/s and compressive strength of 26.22-79.29 MPa. It indicated Shore hardness having strong correlation with speed of cut but heat radiation was discussed et iZ y �2 ``4 2007 and March 2008 were included in this study. Results indicated that the concentrations of heavy metals in most of the seafood samples (84.8%) were within the standard established for safe consumption by humans. There were only 15.2 % of total samples having the concentrations of heavy metals over the standard. Those heavy metals were Cu, Zn and Cd, respectively, which were found in most of shellfish samples. Results of the health risk assessment of consumption of the seafood indicated that the seafood under this investigation posed no hazard to human health, except consumers may pose a health risk from Cu in mantis shrimps and Cd in scallops over the food safety limit. 

Downloads