ผลของสารสกัดเอธิลอะซิเตทจากต้นหญ้ายางต่อการหดตัวของลาไส้หนูขาว
Keywords:
Euphorbia heterophylla, ileum, contraction, laxative, ต้นหญ้ายาง, ลำไส้, การหดตัว, ยาระบายAbstract
ใบหญ้ายางนิยมใช้เป็นยาระบายในประเทศไทย การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาฤทธิ์ของสารสกัดจากใบ หญ้ายางต่อการเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อเรียบที่ลา ไส้เล็กและกลไกการออกฤทธิ์ โดยนาสารสกัดใบหญ้ายางสดด้วยเมธานอล ชั้นเอธิลอะซิเตทและชั้นน้ำที่ได้จากการสกัดด้วยเอธิลอะซิเตทมาศึกษาผลต่อการเคลื่อนที่ของลา ไส้เล็กที่แยกออกจากร่างกาย หนูทดลอง จากผลการทดลองพบว่าสารสกัดเมธานอลและชั้นเอธิลอะซิเตทของใบหญ้ายางไม่เกิดการหดตัวของลาไส้เล็กหนู ส่วนสารสกัดชั้นน้ำสามารถทาให้ลาไส้เล็กของหนูหดตัวเพิ่มขึ้นและแปรผันตามปริมาณของสารสกัดชั้นน้ำที่ใช้ ผลของสาร สกัดต่อการเคลื่อนไหวของลาไส้เล็กของหนูมีฤทธิ์คล้ายคลึงกับอะเซทธิลคลอรีน ฮิสตามีน และโพแทสเซียมคลอไรด์ และมี ลักษณะขึ้นกับความเข้มข้นสาร นอกจากนี้ ฤทธิ์ดังกล่าวถูกยับยั้งได้ด้วยอะโทรปีน และเวอราปามิล แต่ไม่ถูกยับยั้ งด้วย คลอเฟนิรามีน จึงเป็นไปได้ที่การออกฤทธิ์ของสารสกัดใบหญ้ายางชั้นน้ำจากการสกัดด้วยเอธิลอะซิเตทต่อการหดตัวของ ลำไส้เล็กของหนูจะผ่านทางตัวรับมัสคารินิกและช่องทางเข้าเซลล์ของแคลเซียม การออกฤทธิ์ดังกล่าวจึงมีประโยชน์ในแง่ การใช้ใบหญ้ายางเป็นยาระบาย Euphorbia heterophylla Linn. leaves are frequently used as a laxative in Thailand. The purposes of this investigation were to study the pharmacological effect of Euphorbia heterophylla Linn. on the motility of intestinal smooth muscle and its mechanisms of action. The methanolic, ethyl acetate and the aqueous fractions from the fresh ethyl acetate extract of the plant were tested for their effect on the motility of isolated rat ileum. Neither the methanolic nor the ethyl acetate fractions produced a contraction of the ileum, whereas the aqueous fraction had contractile effect on the ileum. The effect was similar to that of acetylcholine, histamine and potassium chloride and was dose-related. The increase in motility was inhibited by atropine and verapramil, but not by chlorpheniramine. Therefore, the extract might act on the intestinal smooth muscle mainly through muscarinic receptors and perhaps calcium channels. The results on the isolated rat ileum supported the use of this plant as a laxative in Thai folk medicine.Downloads
Issue
Section
Articles