การแพร่กระจายของ Staphylococcus aureus และ Bacillus cereus ในซูชิ
Prevalence of Staphylococcus aureus and Bacillus cereus in Sushi
Keywords:
Staphylococcus aureus , Bacillus cereus , ซูชิ, การแพร่กระจายของAbstract
การศึกษาการแพร่กระจายของ Staphylococcus aureus และ Bacillus cereus โดยวิธี standard plate count และวิธี MPN ในซูชิ 40 และ 41 ตัวอย่าง ตามลำดับ ที่สุ่มตัวอย่างมาจากร้านค้าที่วางจำหน่ายในห้างสรรพสินค้า บริเวณอำเภอเมือง อำเภอศรีราชา และบริเวณใกล้มหาวิทยาลัยบูรพา จังหวัดชลบุรี ระหว่างเดือนพฤศจิกายน 2551 ถึงเดือนมกราคม 2552 ผลการศึกษาพบการปนเปื้อนของ S. aureus ในตัวอย่างซูชิ 14 ตัวอย่าง (คิดเป็นร้อยละ 35) ซึ่งมี 11 ตัวอย่าง (คิดเป็นร้อยละ 27.5) มีค่ามากกว่าเกณฑ์คุณภาพทางจุลชีววิทยาของอาหารพร้อมบริโภคของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ 2549 ส่วนการปนเปื้อนของ B. cereus ในซูชิพบว่า 12 ตัวอย่าง (คิดเป็นร้อยละ 29.26) มีการปนเปื้อนของ B. cereus ซึ่งมี 1 ตัวอย่าง (คิดเป็นร้อยละ 2.44) ที่มีแนวโน้มจะมีปริมาณเชื้อสูงเกินเกณฑ์คุณภาพทางจุลชีววิทยาของอาหารพร้อมบริโภคของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ 2549 The prevalence of Staphylococcus aureus and Bacillus cereus in sushi were investigated, using the standard plate count and MPN methods, respectively. Forty and forty-one sushi samples that were collected from sushi stores in Amphur Muang, Amphur Sriracha and local shops near Burapha University, Chonburi Province during November 2008 to January 2009 were screened for S. aureus and B. cereus respectively. Results showed that 14 samples (35%) were positive for S. aureus with 11 sample (27.5%) were higher than the standard recommended by the Department of Medical Sciences, 2006 for ready-to-eat food and 12 (29.26%) of 41 sushi samples were positive for B. cereus with one sample (2.44%) higher than the standard as recommended for ready-to-eat food by the Department of Medical Sciences, 2006References
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์. (2549). เกณฑ์คุณภาพทางจุลชีววิทยา. วันที่สืบค้นข้อมูล 30 พฤศจิกายน 2551, เข้าถึงได้จาก http://www.dmsc.moph.go.th/webroot/BQSF/File/VARITY/ LAW.HTM
การกินซูชิปลอดภัยจริงหรือ วันที่สืบค้นข้อมูล 25 มกราคม พ.ศ. 2552 เข้าถึงได้จาก http://www.livescience.com/mysteries/080903-llm-sushi.html
ชมนาด ศีติสาร และวรวุฒิ จิราสมบัติ. (2548). วิวัฒนาการอาหารญี่ปุ่นในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: คณะอักษร ศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วันเพ็ญ จิตรเจริญ. (2536). หลักการวิเคราะห์และควบคุมคุณภาพอาหาร. ลำปาง : สถาบันเทคโนโลยีราช มงคล.
Angelidis, A. S., Chronis, E. N., Papageorgiou, D. K., Kazakis, I. I., Arsenoglou, K. C., & Stathopoulos, G. A. (2006). Non-lactic acid contaminating flora in ready-to-eat foods: a potential food-quality index. International Journal of Food Microbiology, 23, 95-100.
Bennett, R.W., & Lancette, G. A. (2001). (Chapter 12). Bacteriological Analytical Manual: Staphylococcus aureus, Retrieved November, 2008, from http://www.cfsan.fda.gov/~ebam/bam-12.html.
Beuchat, L. R., & Ryu, J. H. (1997). Produce handling and processing practices. Emerging Infectious Diseases, 3, 459-465.
Bonnell, A. D. (1994). Quality Assurance in Seafood Processing. New York: Chapman Hall.
Bremer, P. J., Fletcher, G. C., & Osborne, C. (2004). Staphylococcus aureus. Retrieved August 10, 2008, from: http://www.crop.cri.nz/home/ research/marine/pathogens/ staphylococcus.pdf
Chen, Y. H., Jackson, K. M., Chea, F. P., & Schaffner, D. W. (2001). Quantification and variability analysis of bacterial cross-contamination rates in common food service tasks. Journal of Food Protection, 64, 72-80.