ชีวสารสนเทศ : การประยุกต์ใช้ในงานวิจัยวิทยาศาสตร์ชีวภาพ

Bioinformatics : Application in Biological Science Research

Authors

  • ชมภูนุช วิรุณานนท์
  • วรวุฒิ จุฬาลักษณานุกูล

Keywords:

ชีวสารสนเทศ , อณูชีววิทยา

Abstract

ชีวสารสนเทศเป็นเครื่องมือสำคัญในการศึกษาอณูชีววิทยาและเป็นศาสตร์ที่ผนวกความรู้หลายด้านทั้งทางชีววิทยา เคมีคณิตศาสตร์และคอมพิวเตอร์ชีววิทยา ซึ่งมีความเกี่ยวเนื่องกันอย่างไม่สามารถแยกจากกันได้ ปัจจุบันโปรแกรมทางชีวสารสนเทศจำนวนมากเกิดขึ้นเพื่อรองรับความต้องการการใช้งานประยุกต์ต่างๆเนื่องจากข้อมูลที่ได้จากการศึกษาทางชีววิทยาทั่วโลกที่มีเพิ่มขึ้นเป็นจำนวนมากขึ้นในแต่ละวัน การเรียนรู้พื้นฐานและความเข้าใจในการใช้งานจึงมีความสำคัญและเป็นเครื่องมือสู่ความสำเร็จในการทำงานของนักอณูชีววิทยาและผู้ทำงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง โดยในบทความนี้กล่าวถึงวัตถุประสงค์หลักสามอย่าง โดยมีการวิเคราะห์ข้อมูลทางพันธุกรรม การออกแบบยา รวมถึงประยุกต์ใช้ในทางอณูชีววิทยาและวิศวกรรมเมแทบอลิก เป็นประเด็นหลักBioinformatics is an important tool in molecular biology studies and is a multidisciplinary subject that involving several biology, chemistry, mathematics and computational biology which could not be disassociated. Currently, a lot of bioinformatics programs are available for many purposes. Moreover, raw data from biological research are constantly increasing. Learning of basic and principal of bioinformatics are very important things to use these tools for molecular biologist’s and relevant works. This topic described the main three objectives. The application in genetic analysis and annotation, medicine design, molecular biology and metabolic engineering are focused.

References

ธีรเกียรติ เกิดเจริญ. (2539). คอมพิวเตอร์ช่วยการออกแบบโมเลกุลกับการพัฒนาเทคโนโลยี. วารสารเพื่อการพัฒนาเทคโนโลยีวัสดุ, 4, 17-22.

จิรภรณ์ อังวิทยาธร. (2544). Molecular modeling in drug design. ในชีวสารสนเทศศาสตร์. กรุงเทพฯ : สถาบันบัณฑิตวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทย สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ.

เจษฎา เด่นดวงบริพันธ์. (2545). การสร้างวงษ์วานวิวัฒนาการขึ้นมาใหม่ขั้นพื้นฐาน. ในหนังสือการประชุมวิชาการเรื่อง Molecular techniques for biodiversity research. กรุงเทพฯ : ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Barnes, M.R., & Gray, I.C. (2003). Bioinformatics for geneticists. Chichester : John Wiley & Sons.

Campbell, A.M., & Heyer, L.J. (2003). Discovering genomics, proteomics, and bioinformatics. San Francisco : Cold Spring Harbor Laboratory Press and Benjamin Cummings.

Debons, A., King, D.W., Mansfield, U., & Shirey, D.L. (1981). The information professional: Survey of an emerging field. New York : Marcel Dekker, Inc.

Higgins, D., & Taylor, W. (2000). Bioinformatics: Sequence, structure, and databanks. Newyork : Oxford University Press.

Lai, S., Shirlin, C., Kean, W., Gopal, V., & Goh, K.L. (2010). Polyhedral oligomeric silsesquioxanes (POSS)-Chitosan composite fibre for biomedical applications. Avalable from: http://sites.google.com/site/fibrecomposites/research-fibre-compositesstress-transfer-mechanisms-extracellular-matricesstructure-property-carbon-nanotubes-hydroxyapatite-chitosan/polyhedral-oligomeric-silsesquioxanes-poss--chitosan-composite-fibre-for-biomedical-applications-nanoparticulate-hydroxyapatite[10 June 2010].

Liao, J.C., & Higashide, W. (2008). Metabolic engineering of next-generation biofuels. Journal of Chemical Engineering Progress, 104(8), S19–S23.

Shimizu, H. (2002). Metabolic engineering – Integrating methodologies of molecular breeding and bioprocess systems engineering. Journal of Biosciences and Bioengineering. 94(6), 563-573.

Downloads

Published

2023-02-23