ข้อเสนอของพัฒนาการเทคโนโลยีดิจิทัลในประเทศไทย

A Proposal for Development of Digital Technology in Thailand

Authors

  • ธวัชชัย เอี่ยมไพโรจน์

Keywords:

สังคมดิจิทัล , ดิจิไทย , ดิจิทัลคอนเทนต์, digital Society, Digitize Thailand, digital Content

Abstract

ประเทศไทยได้เข้าสู่สังคมดิจิทัลแล้ว มีกิจกรรมและโครงการด้านดิจิทัลหลายโครงการรวมถึงโครงการดิจิไทยที่ใช้แนวทางของต้นไม้แห่งเทคโนโลยีเพื่อการสร้างโลกดิจิทัล โดยเริ่มต้นที่ดิจิทัลคอนเทนต์ซึ่งเป็นรากฐานสำคัญของโลกดิจิทัล โดยอุตสาหกรรมดิจิทัลคอนเทนต์เป็นความหวังของประเทศ มีการใช้เว็บเพื่อสังคมแบ่งปันและสร้างชุมชนความร่วมมือในการสร้างและสะสมองค์ความรู้ในรูปแบบดิจิทัลเพิ่มมากขี้นในประเทศไทย อย่างไรก็ตามคนไทยจะต้องตระหนักถึงสิทธิและศักยภาพของความเป็นเจ้าของดิจิทัลคอนเทนต์ไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่งองค์ความรู้ในการประมวลผลดิจิทัลคอนเทนต์ภาษาไทย โดยใช้แนวทางโอเพนซอร์สเป็นตัวเชื่อมให้เป็นมาตรฐานเดียวกันกับสังคมดิจิทัลระดับนานาชาติต่อไป  Thailand is already moving towards embracing a digital society. There are many digital projects and activities happening now including Digitized Thailand, a project which uses a digital technology tree for building a digital world. The project emphasis is on the digital content which it is hoped will spur development in the domestic digital content industry. The social web is applied more for creation and sharing digital knowledge in Thailand. However, knowledge about digital rights management and on processing Thai language digital content still needs much more research. Using open source software can help Thai digital content stay compatible with widely used global digital content standards.

References

Tawatchai Iempairote, Nuansri Denwattana and Virach Sornlertlamvanich. (2009). KuiSci Collaborative and Collective Intelligence Software. In the Proceedings of Collective Intelligence Workshop, ASWC2008. 189-196. Bangkok: AIT e-Press.

Nuansri Denwattana, Tawatchai Iempairote, Athitha Chokannaratana & Virach Sornlertlabvanich. (2009). Knowledge Unifying Initiator for Poll: KuiPOLL. In the Proceedings of Knowledge Generation, Communication and Management, KGCM 2009, in context of The 13th World Multi-Conference on Systemics, Cybernetics and Informatics, WMSCI2009, Volume IV. 334-339. Orlando: International Institute of Informatics and Systemics.

สุภาพร ชัยธัมมะปกรณ์ และบุญเลิศ อรุณพิบูลย์. (2552). เริ่มต้นพัฒนาห้องสมุดดิจิทัลด้วย Greenstone.(1). ปทุมธานี: ศูนย์บริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ.

บุญเลิศ อรุณพิบูลย์. ข้อกำหนดการพัฒนาสื่อดิจิทัลที่มีคุณภาพ. (2552). ปทุมธานี: ศูนย์บริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ.

วิรัช ศรเลิศล้ำวาณิช ทัศนีย์ เจริญพร กนกวรรณ สวัสดิ์หิรัญกิจ และสภา จรรยาชัชวาล. (2551). ดิจิไทย (Digitized Thailand). สาร NECTEC, ปีที่ 15(78), 6-11.

พรทิพย์ สันต์สวัสดิ์ และนพวรรณ กังสัมฤทธิ์. (2551). กรณีศึกษางานดิจิทัลอาร์ไคว์ที่เนคเทคให้การสนับสนุน. สาร NECTEC, ปีที่ 15(78), 25-27.

เพียงเพ็ญ บุตรกตัญญู และวทัญญู พุทธรักษา. (2551). การบริหารจัดการสิทธิประโยชน์ของข้อมูลดิจิทัล (Digital Right Management). สาร NECTEC, ปีที่ 15(78), 33-46.

SIPA. (2552). รายงานอุตสาหกรรมดิจิทัลคอนเทนต์ไทยปี 2551 แอนิเมชันและเกม. (1). กรุงเทพมหานคร : สำนักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน)

SIPA. และ ITD. (2552). รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาข้อมูลงานแสดงสินค้าและนิทรรศการด้านดิจิทัลคอนเทนต์และการวางแผนการตลาดเพื่อโอกาสทางธุรกิจของผู้ประกอบการไทย. (1). กรุงเทพมหานคร: สถาบันระหว่างประเทศเพื่อการค้าและการพัฒนา (องค์การมหาชน) และ สำนักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน)

GISTDA กรมแผนที่ทหาร และ ศูนย์บริการวิชาการแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. (2551). คู่มือ ดิจิทัลไทยแลนด์ Version 1.0. (1). กรุงเทพมหานคร: สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน)

Downloads

Published

2024-06-20