แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สังคมศึกษา เพื่อพัฒนาความเป็นพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตยสำาหรับผู้เรียนยุคศตวรรษที่ 21

Authors

  • วิภาพรรณ พินลา

Keywords:

learning activities, social studies, good citizenship through democratic approach, learners of the 21st century, การจัดกิจกรรมการเรียนรู้, สังคมศึกษา, พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย, ผู้เรียนยุคศตวรรษที่ 21

Abstract

การศึกษาเป็นหัวใจสำคัญของการพัฒนาประเทศและเป็นรากฐานสำคัญในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให้ สมบูรณ์โดยเฉพาะในยุคที่มีการเปลี่ยนแปลงและมีความเป็นพลวัตของสังคมโลกยุคศตวรรษที่ 21 ดังนั้น จึงเป็นหน้าที่ หลักของครูผู้สอนโดยเฉพาะกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา เป็นกลุ่มที่ช่วยให้ผู้เรียนมีสามารถดำรงตนทั้งในฐานะ ปัจเจกบุคคลและการอยู่ร่วมกันในสังคมในการจัดการเรียนรู้ ได้แก่ 1) ขั้นเตรียมการ 2) ขั้นการสร้างกระบวนการ เรียนรู้สู่การปฏิบัติจริง และ 3) ขั้นประเมินผล โดยการสร้างความตระหนักถึงความสำคัญและบทบาทของความ เป็นพลเมืองดีในสังคมประชาธิปไตย ทั้งความรู้ ทักษะ เจตคติในการปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย ได้อย่างมีความสุข Education is the key to national development and a cornerstone in the development of perfect human, particularly in a changing and dynamic world of the 21st century. Therefore, it is the duty of teachers, especially in the social studies learning subject, to provide assistance to the learners to be able live as an individual and the co-existence in the society. In the learning process, the teachers must undergo the following procedures: 1. Preparation stage, 2.Putting the learning process into practice, and 3.Evaluation. The procedures are operated by raising awareness of the importance and role of citizenship in a democratic society, including knowledge, skills and attitudes of individuals in functioning as a good citizen through the democratic approach.

Downloads