ยุทธศาสตร์การส่งเสริมความมีวินัยของนักเรียนโดยความร่วมมือระหว่าง สถาบันครอบครัวและสถาบันการศึกษา
Keywords:
Enhancing, Students Discipline, Engagment, การส่งเสริม, ความมีวินัยนักเรียน, ความร่วมมือAbstract
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) สภาพและเงื่อนไขที่ส่งผลต่อความมีวินัยของนักเรียน กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 12 คน เลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เครื่องมือที่ใช้แบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง การวิเคราะห์ ข้อมูล วิเคราะห์เนื้อหา 2) กำหนดยุทธศาสตร์การส่งเสริมความมีวินัยของนักเรียนโดยความร่วมมือระหว่าง สถาบันครอบครัวและสถาบันการศึกษา เทคนิควิธีการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research: PAR) กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 13 คน เลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เครื่องมือที่ใช้แบบ สัมภาษณ์กึ่งโครงสร้างและแบบประเมิน การวิเคราะห์ข้อมูล สถิติที่ใช้ ความถี่ ร้อยละ ผลการวิจัย พบว่า 1) สภาพและเงื่อนไขที่ส่งผลต่อความมีวินัยของนักเรียนนั้นเริ่มต้นจากที่บ้าน แต่ เนื่องจากครอบครัวในปัจจุบันมีสภาพเป็นครอบครัวเดี่ยว ครอบครัวแตกแยก ผู้ปกครอง ประกอบอาชีพหรือ ทำงานนอกบ้าน ทำให้เด็กต้องอยู่บ้านเพียงลำพัง ส่งผลทำให้เกิดช่องว่างระหว่างพ่อแม่คนในครอบครัวนอกจาก นั้นสื่อต่างๆ ในปัจจุบันมีผลต่อการรับรู้ของนักเรียนจึงส่งผลต่อวินัยของนักเรียนร่วมด้วยสถาบันการศึกษา ครู เป็นตัวแทนที่จะช่วยขัดเกลาทางสังคม มีหน้าที่สอนให้มีความรู้และทักษะ ที่จะเป็นประโยชน์ในการดำรงชีวิต มีการอบรมเพื่อให้เป็นพลเมืองดี และปฏิบัติตามกฎ กติกาของสังคม 2) ยุทธศาสตร์ในการส่งเสริมความมีวินัย ของนักเรียนโดยความร่วมมือระหว่างสถาบันครอบครัวและสถาบันการศึกษา ส่งเสริมความมีวินัยของนักเรียน โดยความร่วมมือของภาคส่วน กำหนดแนวนโยบาย มีส่วนร่วมในการส่งเสริมความมีวินัย 2.1) การอบรมเลี้ยง ดูของครอบครัวแบบประชาธิปไตย และสัมพันธภาพที่ดีมีส่วนสำคัญ ต่อพัฒนาการของเด็กและเยาวชน รวมทั้ง ผู้ปกครองต้องเป็นแบบอย่างที่ดีด้วย 2.2) การปฏิบัติการทำข้อตกลงร่วมกันของกลุ่มระหว่างผู้ปกครอง ครูและ นักเรียน มีผลดีต่อการส่งเสริมความมีวินัยของนักเรียนโดยความร่วมมือระหว่างสถาบันครอบครัวและสถาบัน การศึกษา และ 2.3) ผลการใช้กระบวนการมีส่วนร่วม พบว่า วินัยของนักเรียนสูงขึ้น The purposes of the research were to 1 study situations and conditions effected students discipline and 2 the strategies for enhancing students discipline family and education institutions. The sample for focus group discussion was 12 persons and the participatory action research (PAR) including 6 students, 6 parents and 1 teacher was used. The result showed that: 1. Students discipline started at home. Because of the single families, broken families and working outside the home of parents made the gap between students and parents and the media effected perception and discipline of students. Education institutions and teachers were socialization agents to educate knowledge and skill for daily life to be citizen of students. 2. The strategies for enhancing students discipline family and education institutions cooperation were setting up: guideline for enhancing students discipline by all sectors cooperation, policy for enhancing students discipline, Ministry of Education, educational sectors and family institution had to paticipation. 2.1 Democratic family, good family relationship and parent model. 2.2 The agreement between parents, teachers and students caused the enhancing students discipline family and education institutions. 2.3 Participatory action research (PAR) after students good disciplineDownloads
Issue
Section
Articles