บทบาทการศึกษาต่อการพัฒนาความเป็นพลเมืองดิจิทัล
Keywords:
บทบาทการศึกษา, การพัฒนา, พลเมืองดิจิทัลAbstract
บทความนี้มุ่งนำเสนอบทบาทสำคัญของการศึกษาต่อการพัฒนาความเป็นพลเมืองดิจิทัลตามมุมมอง ทฤษฎีโครงสร้างหน้าที่นิยมพบว่า 1. การศึกษามีบทบาทในฐานะกระบวนการขัดเกลาทางสังคมและการควบคุมสังคม การศึกษามีข้อ จำกัดเป็นแห่งการหน้าที่หน้าที่ 4 ประการประกอบด้วย การกำหนดและแสวงหาวิธีทางบรรลุวัตถุประสงค์ การปรับ ใหเข้ากับสถานการณ์ การประสานกลมกลืนกันหรือบูรณาการ การสร้างความเฉื่อยเพื่อลดความขัดแย้งและการ ควบคุมสังคม 2. การศึกษามีบทบาทต่อการพัฒนาความเป็นพลเมืองดิจิทัล ประกอบด้วย 3 มิติ คือ มิติที่ 1 ด้าน การเคารพสิทธิ์ของบุคคลอื่น ประกอบด้วย ด้านจริยธรรมและจรรยาบรรณ ด้านการเข้าถึงและสิทธิที่เท่าเทียมกัน ในการใช้อินเตอร์เน็ต ด้านกฎหมายและการละเมิดสิทธิ์ในการใช้อินเตอร์เน็ต มิติที่ 2 ด้านความรู้ ประกอบด้วย ด้านความรู้และทักษะในการสื่อสาร ด้านการรู้เท่าทันสื่อเพื่อเรียนรู้ถ่ายทอดและการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยี ด้านความรู้ในเชิงพาณิชย์เพื่อการติดต่อซื้อขายออนไลน์ตามกติกา มิติที่ 3 ด้านการปกป้องความเป็นส่วนตัวและ ความปลอดภัย ประกอบด้วย ด้านความถูกต้องและความรับผิดชอบในการใช้ ด้านความปลอดภัยในการใช้เพื่อ ปกป้องความเป็นส่วนตัวด้านการดูแลสุขภาพกายและใจเพื่อป้องกัน ผลกระทบจากโลกดิจิทัล This article aimed to provides the important role of education for digital citizenship development based on Structural-Functionalism perspective follow as : 1.The role of education as a process socialization and social control and there are four functional imperatives of education components 1) Adaptation 2) Goal Attainment 3) Integration 4) Latency 2. The role of education for digital citizenship development consisted of three major: 1) respect (digital Etiquette, Digital Access, Digital Law) 2) Educate (Digital Communication, Digital Literacy, Digital Commerce) 3) Protect (Digital Rights & Responsibilities, Digital Security : selfprotection, Digital Health & Wellness)Downloads
Issue
Section
Articles