การพัฒนาระบบการเรียนการสอนอิงกรณีศึกษา เพื่อสร้างเสริมการคิดบวก ต่องานบริการทางเทคโนโลยีการศึกษา สำหรับนิสิตมหาวิทยาลัยบูรพา

Authors

  • ณรงค์ศักดิ์ ประสิว
  • พงค์ประเสริฐ หกสุวรรณ
  • ทิพย์เกสร บุญอำไพ

Keywords:

ระบบการเรียนการสอน, กรณีศึกษา, คิดบวก, งานบริการทางเทคโนโลยีการศึกษา

Abstract

          การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เฉพาะ 4 ประการ ได้แก่ 1) เพื่อพัฒนาระบบการเรียนการสอนอิงกรณีศึกษา เพื่อสร้างเสริมการคิดบวกต่องานบริการทางเทคโนโลยีการศึกษา สาหรับนิสิมหาวิทยาลัยบูรพา 2) เพื่อทดสอบ ประสิทธิภาพระบบการเรียนการสอนอิงกรณีศึกษา เพื่อสร้างเสริมการคิดบวกต่องานบริการทางเทคโนโลยีการศึกษา สาหรับนิสิตมหาวิทยาลัยบูรพา 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนิสิตที่มีต่อระบบการเรียนการสอนอิง กรณีศึกษา เพื่อสร้างเสริมการคิดบวกต่องานบริการทางเทคโนโลยีการศึกษา สาหรับนิสิตมหาวิทยาลัยบูรพา 4) เพื่อประเมินรับรองระบบการเรียนการสอนอิงกรณีศึกษา เพื่อสร้างเสริมการคิดบวกต่องานบริการทางเทคโนโลยี การศึกษา สาหรับนิสิตมหาวิทยาลัยบูรพา จากผู้ทรงคุณวุฒิ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) ผู้เชี่ยวชาญด้าน เทคโนโลยีการศึกษา ด้านจิตวิทยาหรือด้านศาสนาปรัชญาและด้านการออกแบบการสอน จำนวน 9 คน 2) นิสิต ปริญญาตรี จำนวน 29 คนได้มาโดยการสุ่มแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) ระบบการเรียนการสอน อิงกรณีศึกษาเพื่อสร้างเสริมการคิดบวกต่องานบริการทางเทคโนโลยีการศึกษา สำหรับนิสิตปริญญาตรี มหาวิทยาลัยบูรพา 2) แบบทดสอบประสิทธิภาพระบบการเรียนการสอนอิงกรณีศึกษา เพื่อสร้างเสริมการคิดบวกต่องานบริการ ทางเทคโนโลยีการศึกษา สาหรับนิสิตมหาวิทยาลัยบูรพา 3) แบบสอบถามความพึงพอใจของนิสิตต่อระบบการเรียน การสอน และ 4. แบบประเมินและรับรองระบบการเรียนการสอนโดยผู้ทรงคุณวุฒิ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าประสิทธิภาพ (E1/ E2)ผลการวิจัยพบว่า        1. ระบบการเรียนการสอนอิงกรณีศึกษาเพื่อสร้างเสริมการคิดบวกต่องานบริการทางเทคโนโลยี การศึกษาสาหรับนิสิตปริญญาตรี มหาวิทยาลัยบูรพา มี 8 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) บริบท 2) หลักการและเหตุผลของระบบ 3) วัตถุประสงค์ 4) ปัจจัยนำเข้า 5) กระบวนการ 6) สิ่งสนับสนุนการเรียน 7) ผลลัพธ์ และ 8) ข้อมูลป้อนกลับ          2. ผลการทดสอบประสิทธิภาพของระบบการเรียนการสอนฯ E1 / E 2 ทั้ง 4 หน่วยการเรียน มี ประสิทธิภาพเท่ากับ 84.83/84.48 ;85.58/85; 85.34/85.00และ 84.31/84.66 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้           3. นิสิตมีความพึงพอใจระบบการเรียนการสอนอิงกรณีศึกษาเพื่อสร้างเสริมการคิดบวกต่องานบริการ ทางเทคโนโลยีการศึกษาสำหรับนิสิตปริญญาตรี มหาวิทยาลัยบูรพา อยู่ในระดับเหมาะสมมากที่สุด          4. ผลการประเมินและรับรองระบบการเรียนการสอนอิงกรณีศึกษาเพื่อสร้างเสริมการคิดบวกต่องาน บริการทางเทคโนโลยีการศึกษาสำหรับนิสิตปริญญาตรีมหาวิทยาลัยบูรพา จากผู้ทรงคุณวุฒิอยู่ในระดับเหมาะสม มากที่สุด           The purposes of this esearch were 1) to develop a case study-based instructional system for enhancing positive thinking of educational technology and communication services of Burapha University undergraduate students; 2) to the efficiency test of the instructional system; 3) to study the satisfaction of students to the case study-based instruction system; and 4) to assess and certify the qualifications system from the educational experts.          The samples used in this research were 1) 9 specialists from 3 Educational Technology, 3 Instructional and Curriculum specialists and 3 Psychology or Religion and Philosophy 2) 29 undergraduate students who were selected by purposive sampling. The research instruments were: 1) the system prototype; 2) the efficiency test; 3) students’ satisfaction questionnaire and 4) certify assessment forms. The data was analyzed by Mean, Percentage, Standard deviation, and E1/ E2                The research found that:                1. A case study-based instructional system for enhancing positive thinking of educational technology and communication services of Burapha University undergraduate students consisted of eight components: 1) Context 2) Rationale 3) Objective 4) Input 5) Process 6) Supporting Learners 7) Output and 8) Feedback          2. The efficiencies of a case study-based instructional system for enhancing positive thinking on educational technology and communication services of Burapha University undergraduate students were E1/ E2 = 84.83/ 84.48, 85.58/ 85, 85.34/ 85.00 and 84.31/ 84.66 which meet the criterion set.          3. The satisfaction of students toward the case study-based instructional system were appropriate at the highest level.          4. The assessment and certification of the case study-based instructional system from the educational experts were appropriate at the highest level.

Downloads