การศึกษาและพัฒนากระเป๋าจากลวดลายภูมิปัญญาท้องถิ่น "ประเกือม" อำเภอเขวาสินรินทร์ จังหวัดสุรินทร์ ร่วมกับวัสดุอื่น

Authors

  • นันท์นภัส จันทร์แจ่ม

Keywords:

กระเป๋า - - การออกแบบ, กระเป๋าถือสตรี - - การออกแบบ, การออกแบบผลิตภัณฑ์, ภูมิปัญญาชาวบ้าน - - ไทย - - สุรินทร์

Abstract

จังหวัดสุรินทร์มีโบราณสถานและวัฒนธรรมประเพณีที่เป็นเอกลักษณ์ มีความหลากหลายทางด้านชาติพันธุ์ ได้แก่ เช่น ชาวกูย เขมร และชาวลาว ที่อยู่ร่วมกันอย่างผสมผสานกลมกลืนกันมานานนับหลายปี แสดงถึงศิลปวัฒนธรรมที่งดงามเฉพาะท้องถิ่น ผู้วิจัยจึงเห็นความสำคัญของการศึกษาและพัฒนากระเป๋า จากลวดลายภูมิปัญญาท้องถิ่น “ประเกือม” อำเภอเขวาสินรินทร์ จังหวัดสุรินทร์ร่วมกับวัสดุอื่น เพื่อนพัฒนาให้เหมาะสมกับยุคสัมย สามารถสร้างรายได้ให้กับผู้ผลิต/ผู้จำหน่ายในชุมชนได้ และเป็นช่องทางหนึ่งที่สร้างความหลากหลายให้กับสินค้า โดยเป็นเอกลักษณ์ต่อยอดภูมิปัญญา และสืบสานศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นอันดีงาม                จากการวิจัยพบว่า รูปทรงของเครื่องประดับเงินจากลวดลาย “ประเกือม” โบราณ มีรูปทรงเลขาคณิต ทรงกลม สามเหลี่ยม ทรงกระบอก รูปทรงที่เลียนแบบธรรมชาติ เช่น ดอกไม้ ใบไม้ และผลไม้ ซึ่งปัจจุบันจะพบลวดลายที่ได้ตามประติมากรรมเรื่องเล่าบนทับหลังปราสาทต่างๆ ที่ค้นพบในจังหวัดสุรินทร์ผู้วิจัยจึงนำลวดลายนี้ได้จากการวิเคราะห์มาประยุกต์เข้ากับวัสดุในอำเภอท้องถิ่นอำเภอเขวาจังหวัดสุรินทร์ที่สามารถได้ท้องถิ่น คือ ผ้าไหม การทอผ้าไหมของกลุ่มชาวบ้าน นิยมทอผ้าตามความชำนาญของแต่ละคนที่สืบทอดจากบรรพบุรุษ ดังนั้นจึงได้นำลวดลสยที่ได้จากการวิเคราะห์และผ้าไหมในท้องถิ่น มาพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ที่ใช้งานสอดคล้องกับเครื่องประดับเงินประเกือม สามารถใช้งานได้จริง มีรูปทรงผลิตภัณฑ์แนวคิดมาจากเม็ด “ประเกือม” รูปทรงฟักทองโดยประเมินความพึงพอใจของผู้บริโภคที่มีต่อผลิตภัณฑ์โดยแบ่งเป็น 3 ด้าน คือ 1) ด้านลักษณะเฉพาะถิ่น 2) ด้านประโยชน์ใช้สอย 3) ด้านความงาม โดยรวมอยู่ในระดับมาก (X̄= 4.35) Surin province has unique ancient remains,cultures and tradition, and variety of races, such as the Kui,Khemer, and Laotian been living together harmoniously for hundreds of years. These indicate the specific and graceful arts and cultures of locality. These fore,the researcher realizes the significance of  the education hand bags and development on the “local wisdom of silver bead patterns”,and other materials in Amphur Khwao Sinrin,Surin Province to develop them to be appropriate with the period so that they can create incomes to the manufacturers/distributors in the community.Moreover,it is one of the channels foe being able to create the variety of  products together with maintaining the unique oflocal wisdom extension, and inherit the fine arts and cultures of locality.  The research results revealed that the ancient “sliver beads” style had various shapes including geometry, sphere, triangle, cylinder, and the shapes imitated from nature such as flower ,leaf, and fruit. Today, these styles can be found according to the tales appeared in the sculpture on various Castle Lintel discovered in Surin province. Therefore, the researcher brought the styles got from this analysis to apply with the local materials which can be found in Amphur Sinrin, which was, silk cloth. The silk weaving of the folklores was weaved according to the individuals’ skills inherited by their ancestors, hence the styles got from this analysis and local silk cloth were developed to be the products which could be used in accordance with the liver beads decorations. The decorations could be applies for real use, and the products were created by the seed of “silver beads” in pumpkin shape. The satisfaction of consumers towards the products be divided into 3 aspects which include 1) specific locality, 2) use,  and 3) beauty. The satisfaction as overall image was at the high level (X̄= 4.35)

Downloads