ฮูปแต้ม: ภาพสะท้อนสังคมและวัฒนธรรมในเขตอีสานตอนกลาง

Authors

  • ปิยนัส สุดี

Keywords:

จิตกรรมฝาผนังไทย, วัฒนธรรมไทย (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ), ไทย (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) - - ความเป็นอยู่และประเพณี

Abstract

  การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1.  เพื่อศึกษาความเป็นมา สภาพสังคมและวัฒนธรรม ตลอดจนการดำร'อยู่ของชุมชนกลุ่มวัฒนธรรมไทย-ลาวใน เขตอิสานตอนกลาง 2. วิเคราะห์คติความเชื่อรูปแบบทางด้านจิตรกรรม และเรื่องราวต่าง ๆ ที่ปรากฎในฮูปแต้มในเขตอีสานตอนกลาง และ 3.ศึกษาภาพสะท้อนระหว่าง ฮูปแต้มกับชุมชน บทบาทและหน้าที่ของฮูปแต้มในอนาคต การศึกษานี้เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ แนวประวัติศาสตร์สังคมวัฒนธรรม ผลวิจัยพบว่า ชุมชนในเขตอีสานตอนกลางเป็นชุมชนที่มีประวัติศาสตร์มายาวนาน กลุ่มคนที่มีจำนวนมากที่สุดคือ กลุ่มไทย-ลาว การตั้งถิ่นฐานในช่วงพุทธศตวรรษที่ 23 ถึงต้นพุทธศตวรรษที่ 24กลุ่มแรกที่เข้ามาตั้งถิ่นฐาน คือกลุ่มที่เข้ามาตั้งแต่เมืองร้อยเอ็ด มหาสารคราม และขอนแก่น เจ้าหัวครูสีดาวัดโพนเสม็ดเป็นผู้นำส่วนเมืองกาฬสินธุ์เป็นกลุ่มที่อพยพเข้ามาภายหลังเจ้าผ้าขาวโลมพระมิตรเป็นผู้นำกลุ่มเหล่านี้มีวัฒนธรรมแบบล้วนช้างคือการเคารพศรัทธาในพระพุทธศาสนา ความชื่อเรื่องผืบรรพบุรุษ ภาษา การแต่งกาย ขนบธรรมเนียมประเพณีที่เกี่ยวข้องกับการดำลงชีวิตได้แก่ ฮืตสิบสอง คองสิบสี่ ส่งผลต่อคติความเชื่อในการเขียนฮูปแต้มที่สร้างขึ้นด้วยความเชื่อ ความศรัทธา เพื่อเป็นพุทธบูชา และใช้สอนศีลธรรม ลักษณะรูปแบบ เนื้อหา และเรื่องราวของฮูปแต้มมีลักษณะเป็นศิลปะพื้นบ้านมีความเรียบง่ายและชื่อที่เขียนไว้ภายในและภายน้อกสิมโดยกลุ่มช่างพื้นบ้านองค์ประกอบและการจัดวางภาพขึ้นอยู่กับความต้องการของช่างและขนาดของสิม สีที่ใช้เป็นสีฝุ่นหรือสีที่หาได้ตามท้องถิ่น ภาพสะท้อนระหว่างฮูปแต้มกับสังคม สะท้อนออกมาเป็นเรื่องราวทางพระพุทธศาสนาวรรณกรรมท้องถิ่นและภาพวิถีชีวิตชาวบ้านในช่วงเวลานั้นฮูปแต้มยังคงบทบาทและหนี้ท่ต่อสังคม ในความสัมพันธ์ของวิถีชีวิตชุมชนในหลากหลายมิติ เกิดการประยุกต์ปรับปรุง นำไปใช้ทั้งจากรูปแบบและเรื่องราว ทำให้ฮูปแต้มมีการเคลื่อนไหวและมีบทบาทอยู่ตลอดเวลาจากคุณค่าของฮูปแต้มส่งผลให้เกิดความร่วมมือของคนในสังคมสร้างคุณค่าความเป็นอัตลักษณ์ให้กับฮูปแต้ม และร่วมการสร้างแนวทางในการอนุรักษ์ สืบสาน ให้ฮูปแต้มดำรงอยู่ในสังคมต่อไป คำสำคัญ: ฮูปแต้ม/ภาพสะท้อน/สังคมและวัฒนธรรม/อีสานตอนกลา  The purpose of this research was threefold: firstly, to study the background, thesocial and culture,well as the existence of Thai-Lao cultural group community in the MiddleNortheast; secondly, to analyze the beliefs,the painting styles,and the stories that appearIn the Hoop Tam; and thirdly, to study the reflections between the Hoop Tam and corn-munities, the roles and functions of the Hoop Tam which appear in Thai-Lao culture groupommunity in the Middle Northeast and the existence of Hoop Tam in the future. This studywas a qualitative research with sociocultural historical approaches. The research resultsare as follows:      The Middle Northeast community is the long-history community. The Thai-Lao group is the highest number of people in this region. They were the first group who cameto settle.They began the settlement in Mahasarakham, Khon Kaen,Roi Et, during the 23 rdBuddhist Century to the early 24th Buddhist Century. Chao Hua Kroo Wat Phon Sametwas the leader. Later Kalasin was a group of immigrants. Chao Pha Kao Som Pra Mith wasthe leader. These groups had Lane-Xang cultural practices which were: respect for faithIn Buddhism, belief in ancestral ghosts, language,and dress. Traditions related with theLifestyle were Heat Sib Song, Kong Sib Si,which affected beliefs in drawing. Hoop Tam hadbeen created faith to Buddha and moral,Pattern characteristic, content, and the storyOf Hoop Tam were the folk art style that was simple and straightforward,drawn inside andoutside of sim by folk artists. Composition and layout of images were based on the needsOf artist and the size of Sim. Colors used to dust were paint or local material. The reflectionBetween Hoop Tam and society were: reflections the story of Buddhism,local literature,and images of villager’s lifestyle during that time. Hoop Tam maintained roles and functionsin society with various dimensions in the relations of community life. It brought aboutapplication,improvement, utilization, from both forms and stories. This made Hoop Tam have movement and roles all roles all the time. The values of Hoop Tam caused the cooperation of everyone in the society to build value identity in the Hoop Tam and together create approaches   to conserve and inherit Hoop Tam to exist in society      

Downloads