การออกแบบเรขศิลป์ ศูนย์ภาษา มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ เพื่ออาเซียน

Authors

  • รัตนวรรณ คิม

Keywords:

การออกแบบกราฟิก, อัตลักษณ์, ภาพลักษณ์องค์การ

Abstract

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาข้อมูลศูนย์ภาษา มหาวิทยาลัยราชภัฎราชนครินทร์ข้อมูลอาเซียน  ข้อมูลท้องถิ่น  และการออกแบบเรชศิลป์  เพื่อนำมาหาข้อสรุปและใช้เป็นแนวทางในการออกแบบเรขศิลป์  ศูนย์ภาษา  มหาวิทยาลัยราชภัฎราชนครินทร์ เพื่ออาเซียนเพื่อให้องค์กรมีชื่อเสียง เป็นที่ยอมรับมากขึ้นในระดับสากล และสามารถแข่งขันในเชิงธุรกิจได้ จึงต้องมีการปรับภาพลักษณ์ด้วยการออกแบบงานเรขศิลป์เพื่อสร้างอัตลักษณ์ใหม่จากผลสรุปของแบบสอบถามชี้ให้เห็นว่าตราสัญลักษณ์ที่มีการนำเสนออัตลักษณ์ของท้องถิ่นมาผสมผสานกับรูปแบบที่มีความทันสมัยนั้น ทำให้ความโดดเด่นและเอกลักษณ์ ซึ่งเป็นไปตามหลักการของการออกแบบตราสัญลักษณ์ที่ดี โดยอัตลักษณ์ท้องถิ่นที่นำมาใช้คือ วัดโสธรวรารามวรวิหาร ซึ่งเป็นวัดที่มีชื่อเสียงที่สุดของจังหวัดฉะเทิงเทราและสิ่งที่เป็นแรงบันดาลใจในการออกแบบงานคืรูปทรงสี่เหลี่ยมข้าวหลามตัดที่นิยมใช้ในการประดับตกแต่งวัดและเส้นโค้งของศาสนสถานซึ่งแสดงออกถึงศิลปะวัฒนธรรมไทย  โดยออกแบบให้มีลักษณะตัดทอน เพื่อให้มีความเรียบง่ายและเป็นที่จดจำ พร้อมกันนี้ได้จัดวางตัวอักษรที่เป็นชื่อขององค์กรเข้าไปเพื่อทำให้เกิดการสื่อสารที่ชัดเจนมากขึ้นและเพื่อให้งานออกแบบเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของงานวิจัยซึ่งเป็นการออกแบบเพื่ออเซียนจึงได้นำเอาสีของธงอาเซียนซึ่งประกอบไปด้วย สีฟ้า สีแดง สีเหลือง และสีขาวนั้นมาใช้เป็นลูกเล่นในงานออกแบบแต่ได้มีการปรับของโทนสี และเพิ่มสีดำเข้ามาใช้ในงานเพื่อให้มีความเหมาะสมและความน่าสนใจมากยิ่งขึ้น ส่วนลวดลายกราฟฟิกนั้นได้แรงบัลดาลใจการเรียงกระจกสีสี่เหลี่ยมข้าวหลามตัดขนาดเล็ก ที่นิยมนำมาประดับตกแต่งตามศาสนาต่างๆ ของไทยรวมถึงวัดโสธรวรารามวรวิหารด้วย โดยลวดลายนั้นได้นำมาประดับตกแต่งตามศาสนสถานต่างๆ ของไทยรวมถึงวัดโสธรวรารามวรวิหารด้วย โดยลวดลายนั้นได้นำมาใช้ในงานออกแบบเลขเรขศิลป์ประเภทต่างๆ เช่นสื่อสิ่งพิมพ์ อุปกรณ์สำนักงาน ของที่ลำลึก เพื่อทำให้เกิดเป็นรูปแบบอัตลักษณ์ที่เป็นไปในทิศทางเดียวกันซึ่งการออกแบบนั้นได้ใช้โปรแกรมคอมพิมเตอร์ในการสร้างสรรค์ผลงานและได้มีการประเมินผลความพึงพอใจจากผู้ตอบแบบสอบถาม 2 กลุ่มคือ กลุ่มนักวิชาการด้านศิลปะและการออกแบบ และกลุ่มที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับศูนย์ภาษา รวมทั้งสิ้น 15 คน ซึ้งมีทั้งคนไทยและคนต่างชาติ ในการทำแบบสอบถามนั้นได้ทำการประเมินผลความพึงพอใข 2 ส่วนด้วยกันคือ ความพึงพอใจที่มีต่องานวิจัย  และความพึงพอใจที่มีต่อผลต่องานออกแบบ ซึ่งข้อสรุปที่ได้คือ ความพึงพอใจที่มีต่อผลงานออกแบบ ค่าเฉลี่ยรวม 4.43 และความพึงพอใจที่มีต่อผลงานออกแบบ ค่าเฉลี่ยรวม  4.19 ออกแบบได้รับความพึงพอใจมาก  เนื่องจากงานออกแบบเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของงานวิจัยที่ต้องการให้ศูนย์ภาษา มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินท์ ดูมีความเป็นสากล เป็นที่ยอมรับ และสามารถแข่งขันในเชิงธุรกิจได้คำสำคัญ : การออกแบบเรขศิลป์ / การสร้างอัตลักษณ์ / อาเซียน / ศูนย์ภาษา มหาวิทยาลัยบูรพา The objective of the research is to analyze information of the Information of the Informal Language center (ILC) of Rajabhat Rajanqgrindra University and ASEAN to find guidance for graphic design for ASEAN to market IL C’s reputation and be competitive in business. It is necessary to update    ILC’s image by creating new graphic design for new corporate identity The result of evaluation explains the symbol that brings local identity of Chachengsao Combined with a modern theme to make it more unique, creditable and international .Which is representative to Design’s theory. The local identity of Chachengsao that used in the re-search is the most famous temple in Chachensao, Wat Sothorn Wararam Worawihan. The inspiration for the symbol design is a trapezoid which can be seen for the decorations intemples and the cure from religious place presents Thai art and culture. The design was created to be simple looking and easily recognizable.  Adding  international Language Center” symbol, which makes communication to the organization clear.  Bringing the Blue, Red, Yellow and White of ASEAN flag creating as the theme colour in the designs to accomplish0 the objectives of the research. The pattern design got its inspiration from decoration of religious place included Wat Sothorn Wararam Worawihan and be used in Various graphic design such as printing media, office equipments and souvenir to make all items into the same design theme0. All designs were created using computer graphics and were evaluated by respondents’ survey who are art academics and people involved in the international Language center, totaling 15 person. Both Thais and foreigners were surveyed.                 The questionnaire was divided into two parts, satisfaction towards the research and aesthetic design. The conclusions were 4.43 out of 5.0 for the Research’s satisfaction and 4.19 out of 5.0 the Design’s satisfaction. Which shows that the research and the design are meet a high level of satisfaction.  

Downloads