หัตถกรรมแบบดั้งเดิม (THRD) เพื่อการอนุรักษ์ และพัฒนาโดยการออกแบบผ่านความรู้สึก

Authors

  • Wu Bin
  • เกรียงศักดิ์ เขียวมั่ง
  • สมชาย เซะวิเศษ

Keywords:

วัฒนธรรมดั้งเดิม, หัตกรรมดั่งเดิม, การอนุรักษ์, พัฒนา, การออกแบบผ่านความรู้สึก

Abstract

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาตัวอย่างโครงการ การพัฒนาการออกแบบหัตถกรรมแบบดั้งเดิมเพื่อค้นหา วิธีการอนุรักษ์และพัฒนาหัตถกรรมแบบดั้งเดิมของประเทศจีน ตลอดจนสามารถนำวิธีการที่ค้นพบมาประยุกต์ใช้และสร้างสรรค์ ผลิตภัณฑ์หัตถกรรมแบบดั้งเดิมใหม่ด้วยเทคนิคการฟื้นฟู ผลิตภัณฑ์เดิม จากการศึกษาพบวา ในยุคโลกาภิวตันนี้ ผลงานหตัถกรรม แบบดั้งเดิมกลายเป็นสิ่งของเครื่องใช้ที่ล้าสมัย ไม่สอดคล้อง กับวิถีชีวิตในปัจจุบันและไม่มีที่ยืนในตลาด ส่งผลให้งาน หัตถกรรมแบบดั้งเดิมของท้องถิ่นกำลังค่อยๆ สาบสูญไปจาก ประเทศและถูกแทนที่ด้วยเครื่องใช้และสินค้าอุตสาหกรรมที่มี เทคโนโลยีการผลิตสมัยใหม่ ทั้งนี้ เมื่อผู้วิจัยได้ศึกษาตัวอย่าง โครงการการพัฒนาการออกแบบหัตถกรรมแบบดั้งเดิมตาม แนวคิดแบบเบาเฮาส์ (Bauhaus) ของประเทศเยอรมนี แนวคิด Neo-Modernism ของประเทศอิตาลี แนวคิด OVOP (One Village One Product) ของประเทศญี่ปุ่นแนวคิด OTOP (One Tambon One Product) ของประเทศไทยและแนวคิด การออกแบบใหม่ (Re-Design) ของเคนยะฮาระ (Kenya Hara) พบว่า หัตถกรรมแบบดั้งเดิมในแต่ละประเทศมีขนาดกิจการ ที่หลากหลายและมีรูปแบบการมีส่วนร่วมของเอกชนและ รัฐวิสาหกิจด้วย แต่ไม่ว่าจะเป็นรูปแบบใดก็ตาม มีเพียงส่วนร้อยเท่านั้นที่รัฐบาลให้การสนับสนุนเงินทุนทำให้งานหัตถกรรม แบบดั้งเดิมต้องเผชิญกับปัญหาการแข่งขันทางการตลาดที่สูง ถูกตีกรอบทางความคิดและมีข้อผูกมัดต่าง ๆ จำนวนมาก จนทำให้ ผคู้นในประเทศขาดความคดิสรา้งสรรคแ์ละการยอมรับสิ่งใหม่ ๆ  ซึ่งทักษะการทำงานหัตถกรรมที่ถดถอยนี้ทำให้ช่างผีมือไม่มีวิธี รับมือกับปัญหาดังกล่าวได้อย่างทันทีทำให้ผู้วิจัยได้นำระบบ THRD (หรือ ระบบหัตถกรรมแบบดั้งเดิมเพื่อการอนุรักษ์และพัฒนาโดยการออกแบบผ่านความรู้สึก) มาประยุกต์ใช้ในการ อนุรักษ์วัฒนธรรมแบบดั้งเดิมซึ่งสามารถสร้างประโยชน์ได้ ดังนี้ 1) สามารถค้นพบเอกลักษณ์ของผลิตภัณฑ์ที่มีเนื้อหา การออกแบบที่ไม่เหมือนใครโดยให้ความสำคัญกับแนวคิด “การออกแบบใหม่” ที่สอดคล้องกับสมัยนิยมและความเป็นอยู่ ในปัจจุบันมากขึ้น 2) มีแนวทางการทำงานที่น่าสนใจและ สามารถดึงดูดให้ผู้ชมอยากเข้ามามีส่วนร่วมได้เป็นจำนวนมาก  3) มีแนวทางการพัฒนาที่หลากหลายและสามารถส่งต่อข้อมูล ผ่านระบบอินเทอร์เน็ตพลัส (Internet Plus) ได้ หมายถึง การนำเอาระบบอินเทอร์เน็ตมาเป็นศูนย์กลางของการพัฒนา แหลง่ขอ้มลูโดยมกีารผสมผสานรว่มกนัระหวา่งอตุสาหกรรมธรุกจิ เศรษฐกิจและการบริการไว้ด้วยกัน และ 4) สามารถส่งอิทธิพล ต่อระบบการศึกษาในปัจจุบันทั้งในด้านการผลิตการศึกษาและ การวิจัยได้เป็นอย่างดีโดยได้กำหนดขอบเขตการดำเนินงาน ของระบบ THRD เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนไว้ คือ ช่างฝีมือ คือ ผู้ให้บริการหลักทางด้านวัฒนธรรมงานหัตถกรรมที่มีเอกลักษณ์ สถาบันอุดมศึกษา คือ หน่วยงานที่ผลักดันให้เกิดทีมงานช่างฝีมือที่มีประสิทธิภาพระดับสูง และรัฐบาล คือ หน่วยงานที่วางแผน การพัฒนาศิลปหัตถกรรมแบบดั้งเดิมอย่างยั่งยืน การพัฒนาระบบ THRD ในครั้งนี้ถือเป็นเพียงหนึ่งใน กระบวนการและวิธีการจำเป็นที่มีเป้าหมายสุดท้าย คือ การผลักดันให้ผู้บริโภคโดยทั่วไปยอมรับว่างานหัตถกรรมแบบดั้งเดิม สามารถนำมาฟื้นฟูและประยุกต์ใช้ในวิถีชีวิตยุคปัจจุบันได้ ซึ่งล้วนมีคุณค่าต่อด้านการศึกษา ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคมและ วัฒนธรรม การที่จะทำให้ระบบ THRD มีความสมบูรณ์มาก ขึ้นจำเป็นต้องมีการขยายการศึกษาในอีกหลายประการ อาทิ ปัจจัยทางการตลาด การสร้างแบรนด์สินค้าและการพัฒนา อุตสาหกรรม เป็นต้น โดยในขั้นตอนของการฟื้นฟูการออกแบบงานหัตถกรรมแบบดั้งเดิมจะต้องถ่ายทอดผ่านประสบการณ์ และกระบวนการเปลี่ยนถ่ายของความคิดสร้างสรรค์ด้านการออกแบบที่ทันสมัยด้วยการผสมผสานสังคมสมัยใหม่ให้กับชีวิต สมัยใหม่ในขณะเดียวกัน การสั่งสมประสบการณ์ที่ประสบความสำเร็จและบทเรียนจากความล้มเหลว ตลอดจนความร่วมมือระหว่างประเทศล้วนส่งผลต่อการฟื้นฟูการออกแบบและมีอิทธิพลต่อความหมายในเชิงบวกของชีวิตสมัยใหม่ด้วยกันทั้งสิ้นThis research aims tostudy on samples of traditional  handcraft design development project is implemented to find a preservation and development method for Chinese traditional handcraft. The method found will be applied in the use and creation of recovery technique  for new traditional handcraft The study found that, in the era of globalization,  the traditional handcraft becomes outdated and do not correspond to way of life today. It has no market shares in the handcraft market. The traditional handcrafts become faded from the market in the country and are being replaced by industrial appliances produced by new production techniques. The researcher studied on of traditional handcraft design development project  according to concept of Bauhaus from Germany, neo- modernism concept from Itary, OVOP (One Village One  Product) from Japan, OTOP (One Tambon One Product)  of Thailand and Re-design concept of Kenya Hara, and  found that traditional handcrafts business in the country  is formed in various scale. Some of them are established  in form of the cooperation between public and state enterprise. However, regardless of its form, few of them  are financially supported by the government. Therefore,  the traditional handcraft industry is now facing a high market competition and has many constrains and the creativity is limited. It also causes a lack of creativity and  acceptance of new ideas. As the handcraft production skill is degraded, the technicians have no solution for the problem in a timely manner. Therefore, the researcher  introduced THRD system (or Traditional handcraft  preservation and development through a design based  on feeling) to be applied with traditional culture. The benefits from this research are as follows:  1) the researcher is able to find an identity of product which is unique as it gives the important to the “new design” which corresponds the current way of life,  2) the researcher finds an interesting working procedure that attracts a number of people as they are able to participate in the production, 3) the researcher found  various ways of development and transmit the information  through internet plus system, i.e. the use of internet system as the center of information source development. It includes the information related to industry, business, economy and service, and 4) it can influent the current education system and production procedure under THRD framework for sustainable development which composed of the technician who is the service provider in cultural works, higher education institute which is the section creating skillful technicians and government which plans a sustainable traditional handcraft project. THRD development is only one of the procedure and method necessary to encourage the people to accept  that the traditional handcraft can be used in current way  of life which provides the benefit in educational,  economical, cultural and social aspects. However, to make  THRD more completed, the further studies are required such as the market factor, the creation of brand and industrial development, etc. the process of recovery the design of traditional handcraft needs experience and creativity, including new design that corresponds the modern society and life, whilst collecting the experience from failure and success in this industry. The cooperation between countries also positively influents the recovery  of traditional handcraft in the modern way of life. 

Downloads