โน้ตเพลงในฐานะสือการเรียนรู้ดนตรีล้านนา

Music Notation as an instructional material in Lanna Music

Authors

  • สงกรานต์ สมจันทร์

Keywords:

โน๊ตเพลง, สื่อการเรียนรู้, ดนตรีล้านนา, Music notation, Instructional Martials, Lanna Music

Abstract

บทความนี้มีวัตถุุประสงค์เพื่อศึกษาพัฒนาการของโน้ตเพลงในวัฒนธรรมดนตรีล้านนา ตลอดจนการใช้โน้ตดนตรีในฐานะสื่อการเรียนรู้ดนตรีล้านนา ผลการศึกษาพบว่า ระบบการถ่ายทอด ความรู้ดนตรีล้านนาแต่เดิมใช้ระบบมุขปาฐะ มีการบันทึกคำร้องแต่ไม่ปรากฏการบันทึกสัญลักษณ์แทนทำนอง ภายหลังจึงมีการใช้โน้ตเพลงในฐานะสื่อการเรียนรู้ทางดนตรีล้านนาโดยกำหนดสัญลักษณ์ต่าง ๆ เช่น ตัวเลข วงกลม บทสำหรับท่อง หรือใช้โน้ต ระบบอักษรไทย อย่างไรก็ตาม โน้ตดนตรีในวัฒนธรรมล้านนาเป็นเพียงเครื่องช่วยการจำของนักดนตรีเท่านั้น ความรู้เกี่ยวกับกลวิธีการบรรเลง ผู้เรียนดนตรีย่อมถูกขัดเกลาจากประสบการณ์ทางวัฒนธรรม โน๊ตที่เป็นที่นิยมแพร่หลายในการถ่ายทอดดนตรีล้านนา คือ ระบบโน๊ตอักษรไทย  This article aims to study the development of musical notation as well as using for instructional materials in Lanna music. The Lanna musical knowledge was originally transmitted by oral tradition method. The historical evidence showed only song text was literate, no musical notation record. Afterward, musical notation is use of instructional media, assigning symbols such as numbers, circles, words for reciting or using Thai alphabet notation. However, the musical notation in Lanna culture were merely a mnemonic for musicians. The knowledge of instrumental technique, music learners are inevitably refined from their cultural experience. The most popular notation for Lanna music learning is the Thai alphabet notation system.

References

ณรุุทธ์ สุทธจิตต์. (2541). จิตวิทยาการสอนดนตรี. กรุุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ธวัชชัย นาควงษ์. (2537). การสอนดนตรีในแบบของโคไดและออร์ฟ. วารสารมนุษยศาสตร์วิชาการ, 2(1). 78-80.

ปัญญา รุ่งเรือง. (2544). “จากมุขปาฐะสู่ลายลักษณ์ : การฟื้นฟูโน๊ตเพลงไทยฉบับครู.” ในการประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 39 วันที่ 5-7 กุมภาพันธ์ 2544. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

พงษ์ศิลป์ อรุณรัตน์. (2543). "ประวัติการบันทึกโน๊ตเพลงในดนตรีไทย."”วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร, 19-20, 182-215.

พงษ์ศิลป์ อรุณรัตน์. (2553). มโหรีวจักขณ์. นนทบุรี : คีตวลี.

มนตรี ตราโมท. (2538). ดุริยสาส์น. กรุงเทพฯ : ธนาคารกสิกรไทย

เมธี ใจศรี. (2553). สมณกถา. ในงานปริวิรรตคัมภีร์โบราณล้านนา. เชียงใหม่ : สถาบันภาษาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่.

สงกรานต์ สมจันทร์. (2563). ประวัติดนตรีล้านนา. พิมพ์ครั้งที่ 2. เชียงใหม่ : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่.

Bruner, Jerome S. (1966). Toward a Theory of Instruction. Cambridge, MA: Belknap Press of Harvard University.

Dyck, Gerald P. (2009). Musical Journeys in Northern Thailand. Assonet, MA: Minuteman press of Fall River.

Mugglestone, Erica, and Guido Adler. “Guido Adler’s ‘The Scope, Method, and Aim of Musicology’ (1885): An English Translation with an Historico-Analytical Commentary.” Yearbook for Traditional Music, vol. 13, 1981, pp. 1–21. JSTOR, www.jstor.org/stable/768355. Accessed 31 Aug. 2021.

Seelig, Paul J. (1932). Siamesische musik siamese music. Bandoeng: J. H. Seelig & Zoon.

Smyth, H. W. (1898). Five years in Siam, from 1891 to 1896 Volume 2. London: J. Murray.

Stumpf, C. (1901). Tonsystem und Musik der Siamesen. Beiträge zur Akustik und Musikwissenschaft, 3, 69-138.

Downloads

Published

2022-12-21