ก๋วยเตี๋ยวเรือรังสิต : พื้นที่ความทรงจำ อัตลักษณ์และบริบทที่เปลี่ยนแปลง จังหวัดปทุมธานี
Rangsit Boat Noodles : Memory Area changing identity and context Pathum Thani Province.
Keywords:
ก๋วยเตี๋ยวเรือรังสิต, อัตลักษณ์, บริบทที่เปลี่ยนแปลง, Rangsit boat noodle, Identity, Changing contextAbstract
ก๋วยเตี๋ยวเรือรังสิต: พื้นที่ความทรงจำ อัตลักษณ์และบริบทที่เปลี่ยนแปลง จังหวัดปทุมธานี มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประวัติศาสตร์ผลิตภัณฑ์ก๋วยเตี๋ยวเรือรังสิตที่สะท้อนอัตลักษณ์ท้องถิ่นของจังหวัดปทุมธานี มีระเบียบวิจัยโดยการใช้วิจัยเชิงคุณภาพ กลุ่มเป้าหมาย คือ ผู้ประกอบการก๋วยเตี๋ยวเรือรังสิตชุมชนพื้นที่ริมคลองรังสิต และภาคีเครือข่าย คัดเลือกจากกลุ่มผู้ประกอบการก๋วยเตี๋ยวเรือรังสิตที่มีอายุในการประกอบกิจการประมาณ 30 ปีขึ้นไป ผู้รู้ ปราชญ์ชาวบ้าน บุคคลสำคัญ และภาคีเครือข่ายทั้งภาครัฐและเอกชน จำนวน 7 คน เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสัมภาษณ์แบบกึ่งมีโครงสร้าง การเก็บข้อมูลจากการสัมภาษณ์เชิงลึก และวิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหา ผลการศึกษา 1) การศึกษาประวัติศาสตร์ผลิตภัณฑ์ก๋วยเตี๋ยวเรือรังสิตตามบริบทและต้นทุนวัฒนธรรมของพื้นที่ ความเป็นมาและการเปลี่ยนแปลงที่มีต่อพัฒนาการการตั้งถิ่นฐานของชุมชนรวมถึงมรดกทางวัฒนธรรมของพื้นที่ ความเป็นมาและการเปลี่ยนแปลงที่มีต่อพัฒนาการการตั้งถิ่นฐานของชุมชนรวมถึงมรดกทางวัฒนธรรมที่ยังคงอยู่สืบทอดมาถึงปัจจุบันที่มีต่ออัตลักษณ์ของผลิตภัณฑ์ก๋วยเตี๋ยวเรือรังสิต 2) ความรู้และวัฒนธรรมอาหารและผลิตภัณฑ์ก๋วยเตี๋ยวเรือรังสิต ที่สามารถพัฒนาเป็นอาชีพมีพื้นฐานจากวัฒนธรรมความเป็นอยู่ของคนในท้องถิ่นและต่อยอดสู่ความยั่งยืนทางอาชีพ Rangsit Boat Noodles : Memory Area changing identity and context Pathum Thani Province. The objective of this study was to study the history of Rangsit boat noodle products that reflect the local identity of Pathum Thani Province. There is a research protocol by using qualitative research. The target group is Rangsit Boat Noodle Entrepreneurs along the Rangsit Canal area and network partners in Thanyaburi district in Pathum Thani Province Selected from a group of Rangsit Boat Noodle Entrepreneurs with an age of about 30 years or more Knowledgeable people, local philosophers, key informants, and network partners in both the public for 7 people. The research instrument are a semi-structured interview Collecting data from in-depth interviews and content analysis. The results showed 1) A study of the history of Rangsit boat noodle products according to the context and cultural cost of the area Background and change towards the development of community settlements, as well as cultural heritage that is still being passed on to the present, towards the identity of Rangsit boat noodle products. 2) Knowledge and food culture of Rangsit boat noodle products. that can be developed into a career based on the living culture of the local people and build on the sustainability of the career.References
กฤษ เหลือลมัย, 2561. ก๋วยเตี๋ยว “เลียง”?. นิตยสารศิลปวัฒนธรรม ฉบับเมษายน 2561. (Online). www.silpa-mag.com. สืบค้นเมื่อ 13 กุุมภาพันธ์ 2565.
จันจิมา อังคพณิชกิจ และพิพัฒน์ กระแจะจันทร์. 2558. ท้องถิ่นรังสิตในประวัติศาสตร์และความทรงจำจากเรือสู่รถกับการเปลี่ยนแปลงของชุมชน. กรุงเทพฯ : อมรินทร์พริ้นติ้ง จำกัด.
เทศบาลนครรังสิต. 2562. ประวัติรังสิต. (Online). http://www.rangsit.org/rsftmk/gohub_history.html สืบค้นเมื่อ 13 กุุมภาพัันธ์์ 2565.
พุฒพิณณิน คำชิระพิทักษ์. 2563. รูปแบบการตั้งถิ่นฐานชุมซนที่สอดคล้องกับการคงอยู่ของมรดกทางวัฒนธรรม ในจังหวัดปทุมธานี กรณีศึกษา: เทศบาลนครรังสิต เทศบาลเมืองบึงยี่โถ และเทศบาลเมืองท่าโขลง. วารสาร วิชาการคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล. 31 (2) : 34-49.
มะลิวรรณ ช่องงาม. 2562. ภาพลักษณ์ก๋วยเตี๋ยวเรือในคลองรังสิตประยูรศักดิ์. วารสารวิทยาลัยสงฆ์นครลำปาง. 8 (1) : 201-208.
วรรณดี สุทธินรากร. 2556. การวิจัยชิงคุณภาพการวิจัยในกระบวนทัศน์ทางเลือก. กรุงเทพฯ. สำนักพิมพ์สยามปริทัศน์ จำกัด.
ศิลปวัฒนธรรม. 2563. ก๋วยเตี๋ยว" สร้างชาติ และทางออกวิกฤตเศรษฐกิจฉบับจอมพล ป. พิบูลสงคราม (Online). www.sipa-mag.com/culture/article 26610. สืบค้นเมื่อ 13 กุมภาพันธ์ 2565
สถาบันไทยศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2539. ร้อยปีคลองรังสิต : โครงการวิจัยนำร่องเฉลิมฉลองวโรกาศกาญจนาภิเษณ์ กรุงเทพฯ
สำนักงานสถิติแห่งชาติ 2562. (Online). http:/statbbi.nso.go.th/staticreport/page/sector/th/08.aspx สืบค้นเมื่อ 13 กุมภาพันธ์ 2565