An Integration of AR and TRIZ to the Design-Based Research: A Case-study of Life Size Bronze Sculpture Casting with Ceramic Shell Technique

การผนวกเทคนิคการวิจัยเชิงปฏิบัติการกับทฤษฎีการแก้ปัญหาเชิงนวัตกรรมในการวิจัยอิงการออกแบบ : กรณีศึกษาการหล่อประติมากรรมทองสำริดชนาดใหญ่ด้วยเทคนิคกระดองเชรามิค

Authors

  • พรสนอง วงศ์สิงห์ทอง

Keywords:

การวิจัยทางศิลปะและการออกแบบ, ทฤษฎีการแก้ปัญหาเชิงนวัตกรรม, เทคนิคการวิจัยเชิงปฏิบัติการ, การวิจัยอิงการออกแบบ, เทคนิคกระดองเซรามิค, การหล่อประติมากรรมทองสำริด

Abstract

Art and design research is a relatively young discipline and to date does not have a well established method compared to the sciences and humanities. Generally, artists and designers undertaking formal research draw heavily on existing research methods from the Physical and Social Sciences. Design-based research has been proposed as a methodology that can help to bridge the gap between research and practice. Two such techniques, Theory of Inventive Problem Solving (TRIZ) and Action Research (AR), have been widely applied in a variety of product design and manufacturing studies. recently, This research paper proposes an integration of TRIZ and AR to formulate a simple step-by-step Design-based Research approach (DBR), The new approach has been demonstrated through a real-life design for productivity improvement case-study of life size bronze sculpture casting with ceramic shell technique. This allows the evaluation of the used approach from the point of view of its simplicity and effectiveness for solving real world art and design problems.  การวิจัยศิลปะและการออกแบบเป็นวิชาการสาขาใหม่ ที่ยังไม่มีกระบวนวิธีดำเนินการวิจัยที่ชัดเจนหากเปรียบเทียบกับกระบวนวิธีทางด้านวิทยาศาสตร์และสังคมศาสตร์ ศิลปินและนักออกแบบที่ดำเนินการวิจัยอย่างเป็นทางการ โดยทั่วไปมักยืมวิธีการวิจัยทางด้านวิทยาศาสตร์กายภาพและสังคมศาสตร์มาใช้เป็นหลักใหญ่ นักวิชาการจึงเสนอให้ใช้วิธีการวิจัยอิงการออกแบบ เพื่อเติมช่องว่างระหว่างการวิจัยกับการปฏิบัติ รายงานการวิจัยทางการออกแบบและการผลิตเมื่อเร็ว ๆ นี้พบว่า เทคนิคอยู่สองแนวทางที่ใช้กันอยู่อย่างกว้างขวาง คือ ทฤษฎีการแก้ปัญหาเชิงนวัตกรรมกับเทคนิคการวิจัยเชิงปฏิบัติการ บทความวิจัยนี้เสนอการผนวกสองเทคนิคนี้เข้าด้วยกันเพื่อให้เป็นกรอบในการวิจัยอิงการออกแบบ ที่เป็นขั้นตอนง่ายๆ แล้วนำกรอบการวิจัยตามแนวทางใหม่นี้ ไปใช้งานในกรณีศึกษาการวิจัยการออกแบบเพื่อปรับปรุงกระบวนการหล่อประติมากรรมทองสำริดขนาดใหญ่ด้วยเทคนิคกระดองเซรามิค ทำให้ปะเมินได้ว่า การแก้ปัญหาทางศิลปะและการออกแบบในโลกของความเป็นจริงด้วยแนวทางนี้ทำได้ง่าย และมีประสิทธิภาพสูง

Downloads

Published

2024-02-01