ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการบริโภคอาหารเช้ากับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

Authors

  • มณิภัทร์ ไทรเมฆ

Keywords:

พฤติกรรมการบริโภคอาหารเช้า, ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน, ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา, เชาว์ปัญญา

Abstract

วัตถุประสงค์ของการวิจัยครั้งนี้เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมในการบริโภคอาหารเช้ากับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี โดยใช้วิธีการวิจัยเชิงสำรวจ (Survey Research) พบวา่ มีหลายประเด็นที่น่าสนใจ จากการวิเคราะห์เปรียบเทียบระหวา่งนักศึกษาที่บริโภคอาหารเช้าและไม่บริโภคอาหารเช้ากับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ด้วยการทดสอบ Post Hoc Tests แยกกลุ่มนักศึกษา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05 สำหรับนักศึกษาที่บริโภคอาหารเช้าทุกวันกับนักศึกษาที่บริโภคอาหารเช้าบ้างในบางโอกาสสำหรับการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการบริโภคอาหารเช้ากับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาด้วย Pearson Correlation พบว่า พฤติกรรมการบริโภคอาหารเช้าของนักศึกษาสัมพันธ์กับเวลาเข้านอน เวลาตื่นนอน รวมทั้งพฤติกรรมการบริโภคอาหารเช้าของบิดามารดาแต่กล้บไม่มีความสัมพันธ์ต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แต่ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษามีความสัมพันธ์กับเพศ น้ำหนักความสูงการดื่มสุราThe research on the relationship between Breakfast Behavior and Learning Efficiency of Students in Rajamangala University of Technology has objective to study the relationship between learning efficiency and breakfast behavior of the students by Survey Research. The research found many interesting outcomes as the following: The comparative analysis of the learning efficiency between students who had and who did not have breakfast reveals that, when using Post Hoc Test to classify between groups of students, the learning efficiency of students who had breakfast everyday was different from those who occasionally had breakfast at the statistic significance of 0.05. The analysis of relationship between breakfast behavior and learning efficiency of students reveals that, when using Pearson Correlation the breakfast behavior of the students related to their sleeping time, waking up time, and the breakfast behaviors of their parents. Although the students’ learning efficiency seemed not to have any significant relationship with their breakfast behavior, it did have has a certain relationship to the students’ health, especially with regard to their genders, weight, height, and drinking behavior.

Downloads