The development of science instructional model emphasizing contextual approach to enhance conceptual understanding and analytical thinking

Authors

  • กิตติมา พันธ์พฤกษา
  • ณสรรค์ ผลโภค
  • มนัส บุญประกอบ
  • จรรยา ดาสา

Keywords:

Science, Study and teaching, Critical thinking, Contextual approach, Conceptual understanding

Abstract

บทคัดย่อ         การศึกษานี้มุ่งที่จะพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ที่เน้นวิธีการสอนโดยใช้บริบทเพื่อส่งเสริมความเข้าใจมโนมติและการคิดวิเคราะห์สำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น รูปแบบการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์นี้เรียกว่า FEACA Model ประกอบด้วย 5 ขั้นตอนของการเรียนรู้ดังนี้ มุ่งความสนใจ, สำรวจตรวจสอบ, วิเคราะห์ข้อมูล, พัฒนาแนวความคิด, และประยุกต์ใช้ การวิจัยในครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงกึ่งทดลอง ดำเนินการตามแบบแผนการวิจัยแบบ pretest-posttest non-equivalent control group design กลุ่มตัวอย่างคือนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จำนวน 2 ห้องเรียน ห้องเรียนหนึ่งเป็นกลุ่มทดลองซึ่งสอนด้วย FEACA Model และอีกห้องเรียนเป็นกลุ่มควบคุมซึ่งสอนด้วยการเรียนการสอนแบบปกติ เครื่องมือวิจัยประกอบด้วยแบบทดสอบวัดความเข้าใจมโนมติซึ่งเป็นข้อสอบแบบปรนัยจำนวน 30 ข้อและแบบทดสอบวัดการคิดวิเคราะห์ซึ่งเป็นข้อสอบแบบปรนัยจำนวน 25 ข้อ เพื่อวัดความเข้าใจมโนมติและการคิดวิเคราะห์ก่อนและหลังทำการทดลอง ผลการวิจัยพบว่า FEACA Model ส่งเสริมความเข้าใจมโนมติและการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนได้ดีกว่าการเรียนการสอนแบบปกติอย่างมีนัยสำคัญ ABSTRACT         The purpose of this study was to develop the science instructional model emphasizing contextual approach in order to enhance conceptual understanding and analytical thinking for lower secondary school students. This science instructional model consisted of 5 steps of learning namely 1) Focusing (F), 2) Exploring (E), 3) Analyzing (A), 4) Conceptual Developing (C), and Applying (A) which has been called FEACA Model. A quasi-experimental research, pretest-posttest non-equivalent control group design, was used for evaluating the effectiveness of the model. The samples were two classrooms of the ninth-grade students. One classroom was serving as an experimental group taught with the FEACA Model whereas the other was serving as a control group taught with the traditional instruction. Research instruments consisted of the conceptual understanding test which was 30 items of multiple choice questions, and the analytical thinking test which was 25 items of multiple choice questions. They were used to assess students’ conceptual understanding and analytical thinking before and after the treatment. The findings suggested that the FEACA Model was significantly better for promoting both students conceptual understanding and analytical thinking compared with the traditional instruction.

Downloads