การพัฒนาการคิดเชิงความสัมพันธ์ของนักเรียนในชั้นเรียนคณิตศาสตร์ที่เน้นกระบวนการแก้ปัญหา
Keywords:
ความคิดและการคิด, การแก้ปัญหา, คณิตศาสตร์ - - การศึกษาและการสอนAbstract
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาลักษณะการคิดทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนในการแก้ไขปัญหาประโยคเปิดของจำนวน และ 2) ศึกษาการพัมนาการคิดเชิงความสัมพันธ์ของนักเรียนในชั้นเรียนคณิตศาสตร์ที่เน้นกระบวนการแก้ปัญหา กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2/1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557 โรงเรียนไทยรัฐวิทยา อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี จำนวน 25 คน ในหน่วยการเรียนรู้เรื่องการบวก ลบระคน จากหนังสือเรียนคณิตศาสตร์สำหรับระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 2 ที่จัดทำขึ้นภายใต้ความร่วมมือระหว่าง Center of Research on international Cooperation in Educational (CRICED), University of Tsukuba ประเทศญี่ปุ่น และศูนย์วิจัยคณิตศาสตร์ศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ผลการวิจัยพบว่า 1) ก่อนการสร้างชั้นเรียนให้เป็นชั้นเรียนที่เน้นกระบวนการแก้ปัญหา นักเรียนส่วนใหญ่ร้ยละ 85 ใช้วิธีการคิดเชิงเลขคณิตในการแก้ปัญหา มีนักเรียนเพียงร้อยละ 15 ที่แสดงให้เห็นถึงการใช้การคิดเชิงความสัมพันธ์ นักเรียนร้อยละ 25 ยังคงใช้การคิดเชิงเลขคณิตอยู่เหมือนเดิม จากการสัมภาษณ์นักเรียนที่ใช้การคิดเชิงเลขคณิตในการแก้ปัญหาประโยคเปิดของจำนวนพบว่านักเรียนมีความสามารถในการใช้การคิดลักาณะนี้ แต่ไม่มีความคุ้มเคยประกอบกับในชั้นเรียนที่เคยเรียนมาไม่ได้ถูกส่งเสริมให้แก้ปัญหาโจทย์ด้วยวิธีนี้The purposes of this research were: 1) to study the mathematical of students in solving number problems, and 2) to study the development of students’ relational thinking in mathematics problem solving classroom. The participants consisted of 25 Grade-2 students in the academic year of 2015 at Thai-Rat Vittaya School, Lopburi Province under the context of problem solving classroom in plus and minus learning unit from mathematics textbook for grade 2 (vol 2), which conducted by collaboratively between Center for Research on International Cooperation in Educational Development (CRICED), University of Tsukuba, Japan and Center for research in Mathematics Education, Faculty of Education, KhonKaen University, Thailand. The findings were as follows: 1) Before mathematics problem solving classroom was conducted, most of the participants (85%) used the computational thinking for solving number problem, and 15% used the relational thinking, 2) After mathematics problem solving classroom by open approach as teaching approach 75% of the students changed their approach from computational thinking to relational thinking for solving number problems, but 25% of the students still used computational thinking for solving number problems. Based on the interviewing with students who used computational thinking for solving number problem, it was found that these students could use relational thinking but they were not familiar as well as they were not encouraged to use this approach in working on solving problems.Downloads
Issue
Section
Articles