ระบบการพัฒนาฐานความรู้วิชาวิทยาศาสตร์บนคอมพิวเตอร์พกพา สำหรับนักเรียนระดับประถมศึกษาภาคกลาง

Authors

  • ไปรยา เดชาธรวรพล
  • วาสนา ทวีกุลทรัพย์
  • วรางคณา โตโพธิ์ไทย
  • บุญเลิศ ส่องสว่าง

Keywords:

ระบบ, ฐานความรู้, วิชาวิทยาศาสตร์, คอมพิวเตอร์พกพา

Abstract

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ คือ (1) เพื่อพัฒนาระบบการพัฒนาฐานความรู้วิชาวิทยาศาสตร์บนคอมพิวเตอร์พกพา สำหรับนักเรียนระดับประถมศึกษาภาคกลาง และ (2) เพื่อประเมินผลการใช้ระบบการพัฒนาฐานความรู้วิชาวิทยาศาสตร์บนคอมพิวเตอร์พกพา การดำเนินการวิจัยมี 2 ระยะ ระยะแรก การพัฒนาระบบการพัฒนาฐานความรู้วิชาวิทยาศาสตร์บนคอมพิวเตอร์พกพา มี 6 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นที่ 1 ศึกษาในเรื่องการจัดระบบ ฐานความรู้ คอมพิวเตอร์พกพา หลักสูตรการเรียนกล่มุ สาระการเรียนรู้วิิทยาศาสตร์ การสอนวิทยาศาสตรร์ ะดับประถมศึกษา จากเอกสาร ตำราและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง นำมาวิเคราะห์และสังเคราะห์ให้ได้องค์ความรู้ ขั้นที่ 2 ศึกษาความต้องการของครูและนักเรียนในโรงเรียนประถมศึกษาภาคกลางเกี่ยวกับลักษณะของฐานความรู้วิชาวิทยาศาสตร์บนคอมพิวเตอร์พกพาจากครูและนักเรียน จำนวน 267 คน เป็นครูที่สอนวิทยาศาสตร์ระดับประถมศึกษาจำนวน 133 คน และนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4, 5 และ 6 จำนวน 134 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบแบ่งชั้น เครื่องมือการวิจัย คือ แบบสอบถามความต้องการ ขั้นที่ 3 ร่างระบบการพัฒนาฐานความรู้บนคอมพิวเตอร์พกพา ขั้นที่ 4 สัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 7 คน เกี่ยวกับร่างของระบบ เครื่องมือการ วิจัย คือ แบบสัมภาษณ์ ขั้นที่ 5 ปรับปรุงแก้ไขตามความเห็นของผู้เชี่ยวชาญ ขั้นที่ 6 ได้ระบบการพัฒนาฐานความรู้วิชาวิทยาศาสตร์บนคอมพิวเตอร์พกพาที่มีความสมบูรณ์นำมาทดลองใข้ ระยะที่สอง การประเมินผลการใช้ระบบการพัฒนาฐานความรู้วิชาวิทยาศาสตร์บนคอมพิวเตอร์พกพาด้วยการ (2.1) การทดสอบประสิทธิภาพเบื้องต้นกับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 จำนวน 30 คน ที่เรียนในปีการศึกษา 2559 กับโรงเรียนประถมศึกษา ในจังหวัดนนทบุรี ทำการทดสอบประสิทธิภาพแบบเดี่ยว ทดสอบแบบกลุ่ม และทดสอบแบบภาคสนาม โดยการให้นักเรียนเรียนฐานความรู้วิชาวิทยาศาสตร์ที่พัฒนาตามขั้นตอนของระบบ และ (2.2) จัดประชุมสัมนาครูผู้สอนวิชาวิทยาศาสตร์ระดับประถมศึกษาจำนวน 20 คน เกี่ยวกับการใช้ระบบการพัฒนาฐานความรู้วิชาวิทยาศาสตร์บนคอมพิวเตอร์พกพา เครื่องมือการวิจัย คือ ระบบการพัฒนาฐานความรู้วิชาวิทยาศาสตร์บนคอมพิวเตอร์พกพา แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และแบบสอบถามความพึงพอใจนักเรียน และแบบสอบถามความคิดเห็นของครูการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าประสิทธิภาพ E1/E2 การทดสอบค่าที ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการวิเคราะห์เนื้อหาผลการวิจัย มีดังนี้ (1) ด้านการพัฒนาระบบ พบว่า ระบบการพัฒนาฐานความรู้วิชาวิทยาศาสตร์บนคอมพิวเตอร์พกพา สำหรับนักเรียนระดับประถมศึกษา ประกอบด้วยองค์ประกอบที่เป็นปัจจัยนำเข้า คือ เนื้อหาด้านวิทยาศาสตร์ระดับประถมศึกษา วัตถุประสงค์ และคำค้นหา องค์ประกอบด้านกระบวนการ คือ การพัฒนาฐานความรู้ ระบบถ่ายทอด ช่องทางการถ่ายทอด และการออกแบบ และด้านผลลัพธ์ ประกอบด้วย การตรวจสอบ การประเมิน และการทดสอบ และขั้นตอนของระบบประกอบด้วย 6 ขั้น คือ ขั้นที่ 1 การคัดสรรเนื้อหาทางวิทยาศาสตร์ขั้นที่ 2 การกำหนดเนื้อหาทางวิทยาศาสตร์ ขั้นที่ 3 การออกแบบเนื้อหาสาระในคำค้นหาทางวิทยาศาสตร์ ขั้นที่ 4การกำหนดขั้นตอนการนำเสนอฐานความรู้ทางวิทยาศาสตร์ ขั้นที่ 5 การจัดทำฐานความรู้ และขั้นที่ 6 การทดสอบระบบฐานความรู้ และ (2) ด้านการประเมินคุณภาพของระบบการพัฒนาฐานความรู้วิชาวิทยาศาสตร์บนคอมพิวเตอร์พกพา โดยการทดลองใช้ พบว่า ฐานความรู้ที่พัฒนาขึ้นตามขั้นตอนของระบบมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 คือE1/E2 = 81.92/79.52 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วยฐานความรู้เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และนักเรียนมีความพึงพอใจต่อฐานความรู้อยู่ในระดับมากที่สุด ส่วนครูมีความคิดเห็นต่อระบบการพัฒนาฐานความรู้อยู่ในระดับเห็นด้วยมากThe objectives of this research were as follows: (1) to develop a science knowledge-basedevelopment system on computer tablets (SciKBTS) for primary education students in the centralpart of Thailand; (2) to evaluate the try-out results of the SciKBTS. The research process comprisedtwo stages. The first stage was the development of SciKBTS, which consisted of six steps as follows:The first step was the study of documents, texts and research studies on concept, used as theframework for needs assessment and SciKBTS. The second step was a study of the needs concerningcharacteristics of SciKBTS of teachers and students in primary education schools in the central part of Thailand. The research sample totaling 267 teachers and students consisted of 133 scienceteachers and 134 PrathomSuksa 4, 5, and 6 students, all of which were obtained by stratified randomsampling. The research instrument was a need assessment questionnaire. The third step was thedevelopment of the conceptual framework of the SciKBTS. The fourth step was the interviews ofseven experts concerning the draft of the SciKBTS. The research instrument was an interview form.The fifth step was the improvement of the system based on recommendations from the experts.The sixth step was the development of the complete version of the SciKBTS. The second stagewas the evaluation of the try-out results of the SciKBTS. It consisted of the following two activities:(2.1) the preliminary try-outs to determine efficiency of the system with 30 primary school studentsin Nonthaburi province, which comprised the following try-outs: individual try-out; small group tryoutand the field try-out who learned from the SciKBTS; and (2.2) organizing a seminar involving20 primary school science teachers concerning the use of the SciKBTS. The research instrumentsin the second stage were the SciKBTS, a learning achievement test, a questionnaire on student’ssatisfaction, and a questionnaire on teacher’s satisfaction. Research data was analyzed using thefrequency, percentage, E1/E2 efficiency index, t-test, mean, standard deviation, and content analysis.Research findings were as follows: (1) regarding the SciKBTS, it was found that thedevelopment of the system comprised the following six development steps: the first step, theselection of science contents; the second step, the determination of science contents; the thirdstep, the designing of science contents; the fourth step, the determination of steps for presentationof the knowledge-base science contents; the fifth step, the creation of the SciKBTS; and the sixthstep, the testing of the created the SciKBTS; and (2) regarding the evaluation of try-out resultsof the SciKBTS, it was found that the developed science knowledge-base system was efficient at81.92/79.52, thus meeting the 80/80 efficiency criterion; the learning achievement of students wholearned from the SciKBTS increased significantly at the .01 level of statistical significance; and thestudents were satisfied with the science knowledge-base system at the highest level; while theteachers were satisfied with the system at the high level.

Downloads