เทคนิคการจัดการเรียนรู้วิชาประวัติศาสตร์เพื่อเสริมสร้างสมรรถนะความเป็นพลเมือง

LEARNING MANAGEMENT TECHNIQUES ON HISTORY SUBJECT TO ENHANCE CITIZENSHIP COMPETENCES

Authors

  • ศักดิ์ดา ทองโสภณ

Keywords:

การจัดการเรียนรู้, ประวัติศาสตร์, สมรรถนะ, พลเมือง

Abstract

การจัดการเรียนรู้ในปัจจุบัน เป็นสิ่งที่ครูผู้สอนจะต้องปรับเปลี่ยนและพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะ กระบวนการ คุณลักษณะและสมรรถนะที่สามารถนำไปใช้ในวิถีชีวิตได้ บทความนี้เป็นการวิเคราะห์ สังเคราะห์ และพัฒนาแนวคิดในการจัดการเรียนรู้วิชาประวัติศาสตร์ เพื่อให้สอดคล้องกับแนวทางการจัดการเรียนรู้ฐานสมรรถนะ และสังคมแห่งการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โดยมุ่งเสริมสร้างสมรรถนะของความเป็นพลเมือง และ คุณลักษณะของการเป็นพลเมืองที่ดีให้เกิดขึ้นกับผู้เรียน บทความนี้นำเสนอความรู้เกี่ยวกับความหมายและความสำคัญของสมรรถนะ แนวคิดที่สำคัญเกี่ยวกับพลเมือง ความหมายและความสำคัญของวิชาประวัติศาสตร์ หลักสูตรและการจัดการเรียนรู้วิชาประวัติศาสตร์ และเทคนิคการจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์เพื่อเสริมสร้างสมรรถนะพลเมือง 3 แนวทาง คือ 1. วิธีการสอนโดยวิธีการทางประวัติศาสตร์ (Historical  Method) 2. การจัดการเรียนรู้เชิงสร้างสรรค์เพื่อพัฒนา Growth mindset 3. การจัดการเรียนรู้แบบสร้างสรรค์เป็นฐาน (Creativity-based learning)  The learning management at present has to adapt and develop learners with skills, processes, attributes and competencies that can be applied in their lifestyles. This article analyzes, synthesizes and develops concepts in the management learning on history subject and it is consistent with the competency – based education and the society of learning in the 21st century. This article aims to strengthen the capacities of citizenship and the characteristics of good citizenship in learners. This article presents knowledge about the meaning and importance of competencies, concepts about citizens, history, curriculum and learning management and learning management techniques on history subject to enhance citizenship competences in 3 approaches: (1.) Historical method (2.) The Growth mindset and (3.) Creativity-based learning.

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2546). แนวทางการนำมาตรฐานหลักสูตรไปสู่การออกแบบการจัดการเรียนรู้และการวัดประเมินผลตามสภาพจริง. กรุงเทพฯ.

เฉลิม นิติเขตต์ปรีชา. (2545). เทคนิควิธีการสอนประวัติศาสตร์. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.

ชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์. (2553). สอนประวัติศาสตร์ ให้เด็กมีความสุข สนุกคิด. นนทบุรี: สหมิตรพริ้นติ้งแอนด์พับลิซซิ่ง.

ชูชัย สมิทธิไกร. (2550). การฝึกอบรมบุคลากรในองค์กร. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ณรงค์วิทย์ แสนทอง. (2546). การบริหารงานทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่ภาคปฏิบัติ. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: เอช อาร์ เซ็นเตอร์.

ธเนศวร์ เจริญเมือง. (2548). แนวคิดว่าด้วยความเป็นพลเมือง. สถาบันพระปกเกล้า: คลังวิชา.

วันเพ็ญ วรรณโกมล. (2544). การพัฒนาการสอนสังคมศึกษา. กรุงเทพฯ: สถาบันราชภัฏธนบุรี.

วิชัย วงษ์ใหญ่ และมารุต พัฒผล. (2563). การเรียนเชิงสร้างสรรค์. กรุงเทพฯ: จรัสนิทวงศ์การพิมพ์.

วิริยะ ฤาชัยพาณิชย์. (2563, 3 พฤศจิกายน). การสอนแบบสร้างสรรค์เป็นฐาน CBLตอนที่ 1, สืบค้นเมื่อวันที่ 14 มีนาคม 2564 จาก https://www.youtube.com/watch?v=2kAPQYEQ6L8.

วิริยะ ฤาชัยพาณิชย์. (2563, 3 พฤศจิกายน). การสอนแบบสร้างสรรค์เป็นฐาน CBLตอนที่ 4, สืบค้นเมื่อ วันที่ 14 มีนาคม 2564 จาก https://www.youtube.com/watch?v=kkRRHL35Ric.

สมหวัง พิธิยานุวัฒน์. (2554). ยุทธศาสตร์การจัดการการศึกษาเพื่อความเป็นพลเมืองและพลโลกในศตวรรษที่ 21. Paper presented at the การประชุมวิชาการสถาบันพระปกเกล้าความเป็นพลเมืองกับอนาคตประชาธิปไตยไทย

สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2552). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์ การเกษตรแห่งประเทศไทยจำกัด

สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2554). เพื่อนคู่คิด มิตรคู่ครู แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ประวัติศาสตร์. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทยจำกัด.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2563). การจัดการเรียนรู้ฐานสมรรถนะเชิงรุก. กรุงเทพฯ: บริษัท 21 เซ็นจูรี่ จำกัด.

สิริวรรณ ศรีพหล. (2539). เอกสารการสอนชุดวิชาการสอนสังคมศึกษา. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

สุกัญญา รัศมีธรรมโชติ. (2548). แนวทางการพัฒนาศักยภาพด้วยมนุษย์ Competency. กรุงเทพฯ: ศิริวัฒนา อินเตอร์พริ้นท์ จำกัด มหาชน.

อิทธิเดช น้อยไม้. (2560). หลักสูตรและการจัดการเรียนรู้สังคมศึกษา. กรุงเทพฯ: บริษัท โอ. เอส. พริ้นติ้ง เฮ้าล์.

Boyatzis. (1982). Competence at work. In A. Stewart (Ed), Motivation and society. (p.58). San Francisco: Jossey-Bass

Hildrew, C. (2018). Becoming Mindset School: The Powerful of Mindset to Transform Teaching, Leadership and Learning. New York, NY: Routledge

McClelland. (1975). A Competency model for human resource management specialists to be used in the delivery of the human resource management cycle. Boston: Mcber. Isin, bryan S. Turner (ed). Princeton University

Silver, D. & Stafford, D. (2017). Teaching Kids to Thrive: Essential Skills for Success. Thousand Oaks, CA: A SAGE Company

Downloads

Published

2022-10-09