รูปแบบเพื่อประเมินหลักสูตรในศตวรรษที่ 21ซึ่งพัฒนาจากรูปแบบการประเมิน CIPP Model
CURRICULUM EVALUATION MODELS IN THE 21ST CENTURY STEMMED FROM THE CIPP MODEL
Keywords:
รูปแบบการประเมิน CIPP Model, การประเมินสภาพแวดล้อม, การประเมินปัจจัยนำเข้า, การประเมินกระบวนการ, การประเมินผลผลิต, การพัฒนาหลักสูตร, CIPP Model, Context Evaluation, Input Evaluation, Process Evaluation, Product Evaluation, CurriculumAbstract
ปัจจุบันโลกมีการเปลี่ยนแปลงหลากหลายมิติ เช่น ด้านเศรษฐกิจ ด้านการศึกษา และด้านสังคม เป็นต้น โดยเฉพาะทางด้านการศึกษา หลักสูตรถือว่ามีความสำคัญมากที่สุดในการจัดการศึกษา เนื่องจากเป็นตัวกำหนดที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน ดังนั้นนักประเมินหลักสูตรจึงควรคำนึงถึงหลักสูตรที่เหมาะสม มีคุณภาพ และทันสมัย โดยทั่วไปการประเมินหลักสูตรมักใช้รูปแบบการประเมินหลักสูตร เช่น Stake Model, CIPP Model, Tyler Model, Puissance Technique หรือ Hammond Model เป็นต้น สำหรับรูปแบบที่ได้รับความนิยมใช้กันอย่างแพร่หลายคือ รูปแบบการประเมิน CIPP Model ซึ่งมาจากแนวคิดของ Stufflebeam โดยแบ่งออก 4 ด้าน คือ การประเมินสภาพแวดล้อม (Context Evaluation) การประเมินปัจจัยนำเข้า (Input Evaluation) การประเมินกระบวนการ (Process Evaluation) และการประเมินผลผลิต (Product Evaluation) ดังนั้น ผลจากรูปแบบการประเมิน CIPP Model จึงมีความเป็นระบบ และให้ข้อมูลได้หลากหลายและเพียงพอที่จะช่วยให้ผู้ประเมินหลักสูตรมีข้อมูล เนื่องจากในศตวรรษที่ 21 การเรียนการสอนหลักสูตรที่มีความซับซ้อนมากขึ้น ทำให้เกิดมีรูปแบบการประเมินต่างๆที่พัฒนามาจากรูปแบบการประเมิน CIPP Model ดังนั้นผู้เขียนจึงขอแนะนำการอภิปรายแนวคิด รวมการใช้รูปแบบการประเมินต่างๆในรูปแบบใหม่ๆต่อผู้อ่าน There have been many recent changes in the world in a number of aspects, including economics, education, and society etc. Education curriculum is considered as one of the most important parts of education since it is determined in relation to the development of making qualified learning for students. Curriculum evaluators should consider factors such as appropriateness, quality and the state of the arts of the curriculum evaluation. Normally, how to use a certain type of curricula models, such as the Stake Model, the CIPP Model, the Tyler Model, the Puissance Technique or the Hammond Model. However, the used model for decision-making was created by Daniel L. Stufflebeam. This evaluation model can be divided into four aspects; Context Evaluation, Input Evaluation, Process Evaluation, and Product Evaluation. Therefore, the results obtained from the CIPP evaluation model are part of an organized system and can provide enough details to help curriculum evaluators in terms of decision-making. As a result, since learning curricula in the 21st century are complicated, many evaluation models have been stemmed and developed from the CIPP Model. The author will introduce some new evaluation models, discuss their concepts and tell the readers how to use them for curriculum evaluation.References
เกียรติณณรงค์ วันคำ. (2554). การประเมินผลโครงการพัฒนาทะเบียนวินัยนักเรียนโดยวิถีทางลูกเสือ และยุวกาชาดของโรงเรียนผ่องพลอยอนุสรณ์. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต. กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
จรรยา ดาสาและคณะ. (2553). การประเมินและติดตามผลหลักสูตร การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ศึกษา (แผนข.) . รายงานการวิจัย. กรุงเทพฯ: ศูนย์วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์. (2556). การพัฒนาหลักสูตรจากทฤษฏีสู่ปฏิบัติ . กรุงเทพฯ:วีปรินต์.
เชิด คำปลิว. (2552). การประเมินโครงการพัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือเพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตนักเรียนโรงเรียนบ้านแม่แคม. รายงานการวิจัย. กรุงเทพฯ: สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.
บุญเลี้ยง ทุมทอง. (2554). การพัฒนาหลักสูตร. กรุงเทพฯ:จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อรอนงค์ มากจันทร์. (2555). การประเมินหลักสูตรสถานศึกษากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์โรงเรียนประทุมอนุสรณ์ โดยใช้CIPP Model . วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต. นครปฐม: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.
มาเรียม นิลพันธุ์และคณะ. (2556). ประเมินโครงการพัฒนาครูภาษาอังกฤษของสถาบันภาษาอังกฤษ ตามโครงการความร่วมมือระหว่างสำนักงานคณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน(สพฐ.) กับมูลนิธิเทมาเส็กและSEAMEO RELC ประเทศสิงคโปร์. นครปฐม: คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.
มาเรียม นิลพันธุ์และคณะ. (2560). การประเมินหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2556) คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร วารสารเวอร์ริเดีย 10 (2) พฤษภาคม – สิงหาคม.
รัตนะ บัวสนธ์ . (2556). รูปแบบการประเมิน CIPP และ CIPPIEST มโนทัศน์ที่คลาดเคลื่อนและถูกต้องในการใช้ CIPP and CIPPIEST Evalvation Models: Mistaken and Precise Concepts of Applications .วารสารศิลปากรศึกษาศาสตร์วิจัย 5 ( 2 ) กรกฎาคม - ธันวาคม 2556.
สน สุวรรณ. (2556). แบบจำลองการประเมินผลโครงการกรณี แบบจำลองCIPP Model. สืบค้นเมื่อ 4 เมษายน 2564 จากhttps://suwanlaong.wordpress.com
สมทรง สุภาพ. ( 2557). การประเมินผลหลักสูตรวิชาภาษาอังกฤษเทคนิคโดยใช้แบบจำลองซิปของนักศึกษา 3 กลุ่มวิชา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลพระนคร.
สุชาดา รักขิโต. (2553). การประเมินโครงการร่วมผลิตแพทย์ศาสตร์บัณฑิตโรงพยาบาลหาดใหญ่ สถาบันสมทบ มหาวิทยาลัยสงขานครินทร์. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต. สงขลา: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยทักษิณ.
อรอนงค์ มากจันทร์. (2555). การประเมินหลักสูตรสถานศึกษากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์โรงเรียนประทุมอนุสรณ์ โดยใช้CIPP Model. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต. นครปฐม: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.
อุดม อัศวุตมางกุร และคณะ. (2560) .การประเมินผลการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จังหวัดปทุมธานี. วิทยานิพนธ์ปริญญาสาธารณสุขศาสตร์มหาบัณฑิต. กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
Akpur, U. , Alci, B. , & Karatas, H. (2015). Evaluation of the Curriculum of English Preparatory Classes at Yildiz Technical University using CIPP model. Academicjournals, 11 (7).
Becker, L.A. (2000). Effect Size. Retrieved from https://www.uv.es/~friasnav/EffectSizeBecker.pdf.
Flinders, D.J & Thornton, S.J. (2013). The Curriculum Studies Reader. New York: Routledge.
Hakan, K. & Seval, F. (2011). CIPP Evaluation Model Scale: Development, Reliability and Validity. Procedia Social and Behavioral Sciences, 15.
Imansari, N. & Sutadji, E. (2017 ). A Conceptual Framework Curriculum Evaluation Electrical Engineering Education. International Journal of Evaluation and Research in Education, (4) December 2017.
Hurmaini, M. & Amin, A. (2015). Evaluation on Social Internship Program of Iain Sultan Thaha Saifuddin Jambi Students: Using Context, Input, Process and Product Model. Education and Practice, 6 (11).
Marsh, C. J. (2004). Key Concepts for Understanding Curriculum. New York : RoutledgeFalmer.
Oliver, P. E. (2009). Developing the Curriculum. New York: Pearson.
Parkay, F. W., Ancil, E.J., & Hass, G. L. (2010). Curriculum Leadership. New York: Pearson.
Quinn, J. D. (2514). “A Program Evaluation of the Impact of a Read to Learn Model on Alternative High School Students’ LEXILE Levels and Reading Achievements”. Degree of Doctor of Education, Gardner-Webb University.
Rodgers, A. G. (2016). “Response to Intervention: A Program Evaluation of Implementation in a Rural School”. Degree of Doctor of Education, Gardner-Webb University.
Royce, W. N. (2015). “An Evaluation of the Habits of Mind Character Education Program”. Degree of Doctor of Education, Nova Southeastern University.
Sams, J. L. (2016). A Program Evaluation Using Stufflebeam’s Model to Evaluate Educational Service Unit 2 (EUS 2) Consortium for Special Education of Administration Services, The Faculty of The Graduate College, Nebraska University.
Sowell, E. J. (2005). Curriculum. New York: Pearson.
Stufflebeam, D. L. (2007). CIPP Evaluation Model Checklist. Retrieved from: www.wmich.edu/evalctr/checklists.
Sukamolson, Suphat. (2018). An Evaluation of Training Courses at Maejo University for the Staffs of Bhutan Officials by Using CIPPE. A Research Report. Chiang Mai: Language Center, Maejo University.
To, O. C. (2017). “A Program Evaluation of an Apprenticeship Program using Stufflebeam’s CIPP Model”. Degree of Doctor of Education, Gardner-Webb University.
Tokmak, H. S., Baturay H. M., & Fadde, P. (2013). Applying the Context, Input, Process, Product, Evaluation Model for Evaluation, Research, and Redesign of an Online Master’s Program. The International Review of Research in Open and Distance Learning, Volume 13 (July).