การประเมินโครงการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมนักเรียนนักศึกษา ของวิทยาลัยเทคนิคเดชอุดม

Authors

  • พงษ์ศักดิพล ทาแก้ว

Keywords:

การประเมินโครงการ, ส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม

Abstract

การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงประเมิน มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินโครงการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมนักเรียนนักศึกษาของวิทยาลัยเทคนิคเดชอุดม ด้านบริบท ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการและด้านผลผลิต โดยประยุกต์ใช้รูปแบบการประเมินแบบซิปป์ (CIPP Model) กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 818 คน ประกอบด้วย ผู้บริหาร จำนวน 4 คน ครู จำนวน 65 คน เจ้าหน้าที่ จำนวน 42 คน นักเรียน นักศึกษา จำนวน 331 คน ผู้ปกครอง จำนวน 331 คน และผู้แทนชุมชน 45 คน ได้มาจากการสุ่มแบบแบ่งชั้นภูมิและกาหนดขนาดตัวอย่างโดยการคำนวณจากตารางของเครจซี่และมอร์แกน (Krejcie & Morgan) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม จำนวน 4 ฉบับ สถิติที่ใช้ ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการประเมินพบว่า 1) ด้านบริบท ผลการประเมินโครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมนักเรียน นักศึกษาของวิทยาลัย เทคนิคเดชอุดม โดยรวมมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่าทุกข้อมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก 2) ด้านปัจจัยนำเข้า ผลการประเมินโครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมนักเรียน นักศึกษาของวิทยาลัยเทคนิคเดชอุดม โดยรวมมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่าทุกข้อมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก 3) ด้านกระบวนการ ผลการประเมินโครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมนักเรียน นักศึกษาของวิทยาลัยเทคนิคเดชอุดม โดยรวมมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่าทุกข้อมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก 4) ด้านผลผลิต ผลการประเมินโครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมนักเรียน นักศึกษาของวิทยาลัยเทคนิคเดชอุดม โดยรวมมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่ามีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก  The objective of this study were to evaluate of student’s moral and ethic enhancement project of Det Udom Technical College in context evaluation input evaluation process evaluation and output evaluation. The sample used in this study were 4 administrators 65 teachers 42 officers 45 community representative persons 331 students and 331 student’s parents by Krejcie & Morgan. The instruments used 4 questionnaires. Data were analyzed using percentage mean and standard deviation. The results of the study showed that 1) context evaluation results of the student’s moral and ethic enhance project in overall propriety were at a high level, considering each item, it was found that all items propriety was at a high level. 2) input evaluation results of the student’s moral and ethic enhance project in overall propriety were at a high level, considering each item, it was found that every item propriety was at a high level. 3) process evaluation results of the student’s moral and ethic enhance project in overall propriety were at a high level, considering each item, it was found that every item propriety was at a high level. 4) output evaluation results of the student’s moral and ethic enhance project in overall propriety were at a high level. considering each item, it was found that every item propriety was at a high level.

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). คุณธรรม 8 ประการ. สืบค้นเมื่อ 20 มกราคม 2561 จาก http://www.moe.go.th/moe/th/news/detail.php?NewsID=51267&Key=infographics

ขวัญนภา อุณหกานต์. (2553). การประเมินโครงการคุณธรรมนำความรู้สู่ความดีของโรงเรียนต้นแบบคุณธรรม นำความรู้สู่ความดี สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสุพรรณบุรี เขต 2. ครุศาสตรมหาบัณฑิตวิจัยและประเมินผลการศึกษา. กาญจนบุรี: มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี.

ฉันทนา โรจน์บูรณาวงศ์. (2552). รายงานการประเมินโครงการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมนักเรียน โรงเรียน บ้านมะกอก โดยบูรณาการกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรมรูปแบบเดิมกับแนวทางการปลูกฝังจิตสำนึกคุณธรรมผ่านระบบการศึกษาของมูลนิธิพุทธฉือจี้ไต้หวัน. รายงานการประเมินโครงการ โรงเรียนบ้านมะกอก.

ดลนภา การักษ์. (2556). การประเมินโครงการส่งเสริมเด็กดีมีคุณธรรมเข้าศึกษามหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน. ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ทัศน์พล เรืองคิริ. (2559). การประเมินโครงการค่ายเสริมสร้างค่านิยมหลัก 12 ประการสังกัดสำนักงาน ส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดบุรีรัมย์. ครุศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์.

บุญชม ศรีสะอาด. (2554). การวิจัยเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 9. กรุงเทพฯ: สุรีวิทยาสาส์น.

ปฏิวัติ ใจเมือง. (2556). การประเมินโครงการคุณธรรม จริยธรรมของโรงเรียนขี้เหล็กพิทยาคม อำเภออาจสามารถ สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดร้อยเอ็ด. วารสารมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตร้อยเอ็ด. 5(2): 35.

ป๋วย อึ้งภากรณ์. (2545). ทัศนะว่าด้วยการศึกษา. กรุงเทพฯ: มูลนิธิโกมลคีมทอง.

พรฉลอง พันธ์เกียรติ. (2553). การประเมินโครงการค่ายอบรมคุณธรรมจริยธรรมสำหรับนักเรียน ชั้นมัธยม ศึกษาปีที่ 4 วัดพระพุทธบาทราชวรมหาวิหาร จังหวัดสระบุรี. ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาหลักสูตรและการสอน. สระบุรี: มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี.

ยุวดี คำเงิน. (2561). การประเมินโครงการพัฒนาจิตสาธารณะของนักเรียนในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 23. ครุศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.

ราชกิจจานุเบกษา. (2560). การศึกษาแห่งชาติ. พ.ศ. 2542. แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553. สืบค้นเมื่อ 20 มกราคม 2561 จาก https://www.bic.moe.go.th/images/stories/ Porrorbor2542.pdf

วิทยาลัยเทคนิคเดชอุดม. (2561). คู่มือนักเรียนนักศึกษาประจำปีการศึกษา 2561. อุบลฯ: งานทะเบียน

วิทยาลัยเทคนิคเดชอุดม. (2562). รายงานผลการประเมินคะแนนคุณธรรม จริยธรรมนักเรียน นักศึกษา ของวิทยาลัยเทคนิคเดชอุดม ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561. อุบลราชธานี: วิทยาลัยเทคนิคเดชอุดม

ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาพลังแผ่นดินเชิงคุณธรรม (ศูนย์คุณธรรม). (2551). สังคมมีคุณค่าจากต้นกล้าคุณธรรม. กรุงเทพฯ: ศูนย์คุณธรรม.

ศิริพร พุ่มแก้ว. (2553). การประเมินโครงการเสริมสร้างวินัยคุณธรรมและจริยธรรมของนักเรียนโรงเรียนเทศบาล 5 (ธนวิถี) จังหวัดยะลา. ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารหารศึกษา. ยะลา: มหาวิทยาลัยราชภัฎยะลา.

สร้อยเพชร ชารินทร์. (2556). การประเมินโครงการพัฒนาวินัยเด็กและเยาวชนโรงเรียนบ้านโคกสำโรง อำเภอสุวรรณภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด. ครุศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.

สุพัตรา เชิดกฤษ. (2556). การประเมินโครงการส่งเสริมคุณลักษณะอันพึ่งประสงค์ของนักเรียนโรงเรียนบ้านโค้งตะคร้อ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 5. ครุศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา.

สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา. (2558). คู่มือการใช้หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา.

อุทัย บุญมี และพรเทพ รู้แผน. (2555.) การประเมินโครงการพัฒนาคุณธรรมและสร้างสำนึกความเป็นไทยเพื่อพัฒนาเด็กไทยอย่างยั่งยืนของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุทัยธานี เขต 2. วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์, 7(20): 95.

Cronbach, L, J. (1963). Course Improvement Through Evaluation. Teachers College Record, 64 (6), 672-683.

Krecie, R. V. & Morgan, D. W. (1970). Determining Sample Size for Research Activities. Journal of Educational and Psychological Measurement. 30(3): 607-610.

Stufflebeam, D.L ed.al. (1971). Educational Evaluation and Decision Making. Illinois: F.E. Peacock Publishers.

Downloads

Published

2022-10-18