ทักษะการเขียนภาษาอังกฤษที่เน้นกระบวนการ : หลักการ ปัญหาและการแก้ไข

Process –based Writing Strategy: Concept, Problems, and Solutions

Authors

  • ธนนท์รัฐ นาคทั่ง
  • ธีระวรรธน์ บุญไชยโรจน์
  • ภาณุพงศ์ ศีลสังวรณ์

Keywords:

การเขียนภาษาอังกฤษ, การเขียนภาษาอังกฤษที่เน้นกระบวนการ, กลยุทธ์การเขียนภาษาอังกฤษ, English Writing, Process-based English Writing, English Writing Strategies

Abstract

ภาษาอังกฤษจัดว่าเป็นภาษากลาง (Lingua Franca) ที่ผู้คนทั่วโลกใช้ในการสื่อสารระหว่างกัน ดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจและการค้า รวมถึงการถ่ายทอดและส่งต่อองค์ความรู้ใหม่ ๆ ผ่านเอกสารทางวิชาการที่ตีพิมพ์เผยแพร่ไปทั่วโลก ทักษะการเขียนภาษาอังกฤษเป็นทักษะแบบ Productive Skill ที่แตกต่างจากทักษะการพูด ทักษะการเขียนนั้นมุ่งเน้นการถ่ายทอดความคิดและความถูกต้องในการใช้ภาษาเพื่อให้ผู้อ่านเข้าใจเจตนารมณ์ของผู้เขียน จึงถือว่าทักษะการเขียนเป็นทักษะที่ยากที่สุดและเป็นทักษะที่เป็นปัญหาที่เกิดขึ้นกับผู้เรียนภาษาอังกฤษบ่อยครั้งด้วยเหตุผลหลายประการมีผลต่อทัศนคติในเชิงลบต่อภาษาอังกฤษระยะยาว บทความวิชาการเรื่องทักษะการเขียนภาษาอังกฤษที่เน้นกระบวนการ: หลักการ ปัญหาและการแก้ไขเขียนขึ้นเพื่อ 1) รวบรวมแนวคิดและองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับการเขียนที่เน้นกระบวนการ 2) ระบุปัญหาด้านการเขียนภาษาอังกฤษของผู้เรียนชาวไทย และ 3) เสนอแนะแนวทางด้านวิธีการแก้ไขปัญหาการเขียนภาษาอังกฤษโดยใช้กระบวนการ (Process-based Writing Strategy) เพื่อให้ผู้อ่านได้รับมุมมองและแนวทางในการนำไปพัฒนางานเขียนภาษาอังกฤษของตนเองในฐานะผู้เรียนหรือผู้ใช้ทักษะการเขียนภาษาอังกฤษในการทำงาน และพัฒนาการเรียนรู้ผ่านกิจกรรมการเขียนภาษาอังกฤษสำหรับผู้สอนภาษาอังกฤษต่อไป  English is an internationally recognized language that has served as a lingua franca for communication, economic activities, trade, and the dissemination of knowledge through academic writing worldwide. While English writing is a productive skill, it differs from speaking in that it necessitates accurate grammar to expound writers' ideas and enhance readers' comprehension effectively. Therefore, writing is recognized as the most difficult skill and the complexity of writing often results in English language learners developing a persistently negative attitude towards this skill. This article entitled “Process–based Writing Strategy: Concept, Problems, and Solutions” was written to: 1) to collect conceptual principles of process-based writing strategies; 2) to examine English writing problems of Thai learners, and; 3) to propose solutions for Thai English language learners using Process-based writing strategies. This article will provide readers with perspective and guidelines for enhancing their English writing skills as learners or users of the language in professional settings. Additionally, it aims to provide English language teachers with practical insights to further develop their students' English writing abilities.

References

ดวงตา ลักคุณะประสิทธิ์, และกรองแก้ว กรรณสูต. (2548). ความคิดเห็นของอาจารย์สถาบันภาษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. วารสารภาษาปริทัศน์, 22, 24-40.

ประยงค์ กลั่นฤทธิ์. (2556). การสอนภาษาอังกฤษ. กรุงเทพฯ: ศูนย์ส่งเสริมวิชาการ.

ปิยวรรณ รุ่งวรพงศ์. (2557). ปัญหาการเขียนภาษาอังกฤษของนักศึกษาใหม่ : กรณีศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์ วิทยาเขตตรัง. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, 8(3), 119-126.

รัตนา มหากุศล. (2540). การสอนทักษะการเขียน ชุดเสริมประสิทธิภาพครู แนวคิดและเทคนิควิธีการสอนภาษาอังกฤษระดับมัธยมศึกษา. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สินีนาฏ มีศรี และภัทร์ธีรา เทียนเพิ่มพูน. (2559). การพัฒนาแบบฝึกเสริมทักษะการเขียนภาษาอังกฤษตามแนวการสอนแบบอรรถฐานสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนศรีวิชัยวิทยา (วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยศิลปากร, นครปฐม.

สุภาพร พันเหลา. (2560). การวิจัยและพัฒนาแบบฝึกทักษะการเขียนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 (วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, มหาสารคาม.

อัญชลีพร คำมงคล, และภัทรลดา วงษ์โยธา. (2562). การใช้รูปแบบการสอนเขียนแบบเน้นกระบวนการเพื่อพัฒนาความสามารถด้านการเขียนภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5. วารสารวิชาการพระพุทธศาสนาเขตลุ่มแม่น้ำโขง, 2(1), 1-20.

อาภาภรณ์ จินดาประเสริฐ. (2545). การใช้กลวิธีการจัดการดูแลการเรียนด้วยตนเองเพื่อพัฒนาทักษะ การเขียนภาษาอังกฤษ. วารสารวิจัย วข, 7(1), 105-112.

เอษณ ยามาลี. (2563). กระบวนการสอนการเขียนภาษาอังกฤษแบบเน้นกระบวนการในบริบทการสอนภาษาอังกฤษเป็นภาษาต่างประเทศ. วารสารราชพฤกษ์, 18(3), 18-29.

Dhanarattigannon, J. (2010). Teaching of writing: process-based approach. Humanities Journal, 17(2). 25-40.

Flower, L. & Hayes, J.R. (1981). A cognitive process theory of writing. College Composition and Communication, 32(4), 365-387.

Gilbert, J. (2010). Improving Japanese EFL learners’ writing performance through self-regulated strategy development. Retrieved from https://core.ac.uk/reader/70368410

Harris, K. R., & Graham, S. (2016). Self-regulated strategy development in writing: Policy implications of an evidence-based practice. Policy Insights from the Behavioral and Brain Sciences, 3(1), 77-84.

Lin Lougheed. (2006). Barron’s TOEIC test : Test of English for international communication. Indiana: B.E.S. Publishing.

Mason, L. H., Harris, K. R., & Graham, S. (2011). Self-regulated strategy development for students with writing difficulties. Theory into Practice, 50(1), 20-27.

Megan Parker Peters. (2017). SRSD in the academy school. ProQuest LLC no. 10636835.

Wenden, L. (1991). Metacognitive strategies in L2 writing: A case for task knowledge. pp.302-322. In Georgetown University Round Table on Language and Linguistics, edited by J. Alatis. Washington, D.C., WA: Georgetown University Press.

White, R. & Arndt, V. (1991). Process writing. London: Longman.

Zhang, J. & Qin, L. (2018). Validating a questionnaire on EFL writers’ metacognitive awareness of writing strategies in multimedia environments. In A. Haukas, C. Bjorke, & M. Dypedahl (eds.). Metacognition in Language Learning and Teaching (pp. 157-177). London, England: Routledge (Taylor & Francis Group).

Downloads

Published

2023-07-13