สารเคมีกับการเกิดโรคมะเร็งในเด็ก

Chemicals and Childhood Cancer

Authors

  • นันทพร ภัทรพุทธ

Keywords:

สารเคมี, มะเร็ง, เด็ก, Chemical, Cancer, Children

Abstract

เป็นที่ทราบกันทั่วไปว่า สารเคมีเป็นปัญหาระดับโลกที่มนุษย์เราต้องเผชิญโดยเฉพาะอย่างยิ่งในเด็ก สาร ที่ปนเปื้อนในสิ่งแวดล้อมเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดโรคมะเร็งในเด็กได้ ตัวอย่างสารเหล่านี้ ได้แก่ เบนซีน โพลีไซคลิก อะโรเมติกไฮโดรคาร์บอน สาร 1,3-บิวทาไดอีน ฝุ่นดีเซล ซึ่งเกิดจากการจราจร เป็นต้น โดยปกติแล้วปัจจัยที่ทำให้เกิดมะเร็งในเด็กแตกต่างไปจากที่ทำให้เกิดมะเร็งในผู้ใหญ่ เช่น การสูบบุหรี่ หรือการรับสัมผัสสารก่อมะเร็งจากการทำงานในโรงงานอุตสาหกรรมส่วนใหญ่แล้วมะเร็งในเด็กเกิดจากการกลายพันธุ์ (หรือการเปลี่ยนแปลง) ในยีนส์ที่กำลังเจริญเติบโต กลไกที่เป็นไปได้ โดยเกิดจากการรับสัมผัสสารก่อมะเร็งของพ่อแม่และส่งต่อความเสี่ยงไปยังลูก การรับสัมผัสสารพิษอาจเกิดโดยทางรกจากแม่ไปสู่ลูก ซึ่งอาจเกิดจากการดื่มนมของบุตร และอาจเกิดในวัยเด็กเล็กจากพฤติกรรมการหยิบกินสิ่งที่ปนเปื้อนสารพิษเข้าสู่ร่างกายการวิเคราะห์รูปแบบความแปรผันของกิจกรรมทางการรับสัมผัสสารและผลต่อสุขภาพในแต่ละช่วงของการพัฒนา จึงเป็นสิ่งจำเป็นที่จะนำไปสู่วิธีการประเมินความเสี่ยงเพื่อการปกป้องภาวะสุขภาพของเด็ก  It is almost universally acknowledged that toxic chemicals pose a threat to human health, and possibly even more so to children. Some environmental causes of childhood cancer are well known. These include benzene, polycyclic aromatic hydrocarbon (PAHs), 1,3-butadiene, diesel particulate from road traffic pollution, etc. Typically, the factors that trigger cancer in children are usually not the same factors that may cause cancer in adults, such as smoking or exposure to industrial chemical carcinogens. In almost all cases, however, childhood cancers arise inherited mutations (or changes) in the genes of growing cells. The possible mechanisms by which the parent's exposure to chemical carcinogens could convey risk to the child. Contact with toxic agents can occur in utero through trans placental transfer of chemicals from mother to fetus; it can occur via breast milk in nursing infants; and it can occur in early childhood via hand-to-mouth transfer of toxic chemicals. Analysis of childrens varying patterns and pathways of exposure to environmental agents and the resulting health effects at various stages of development is an essential prerequisite to formulation of a child-protective approach to risk assessment.

Downloads

Published

2023-12-25