การพัฒนาบทเรียนออนไลน์เพื่อเสริมสร้างทักษะการใช้เหตุผลเชิงตรรกะ เรื่อง การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5

The Development of E-Learning Courseware to Enhance Logical Thinking Skills on Basic Computer Programming for Grade 5 Students

Authors

  • สันติภาพ ภิรมย์ตระกูล
  • อาจณรงค์ มโนสุทธิฤทธิ์
  • วีระพันธ์ พานิชย์

Keywords:

บทเรียนออนไลน์, การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น, เหตุผลเชิงตรรกะ, Online Lessons, Basic Programming, Logical Thinking

Abstract

การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยและพัฒนา (Research and Development) มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาบทเรียนออนไลน์ (2) ประเมินประสิทธิภาพบทเรียนออนไลน์ ตามเกณฑ์ประสิทธิภาพ E1/E2 (80/80) (3) ศึกษาดัชนีประสิทธิผลของบทเรียนออนไลน์ (4) ศึกษาทักษะการใช้เหตุผลเชิงตรรกะ ซึ่งเป็นการวิจัยและพัฒนา โดยใช้กระบวนการ ADDIE Model ซึ่งการประเมินคุณภาพบทเรียนออนไลน์โดยผู้เชี่ยวชาญ กลุ่มตัวอย่างได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนบ้านห้วยปราบ ที่เรียนวิชาวิทยาการคำนวณ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 จำนวน 45 คน ได้มาโดยวิธีการสุ่มอย่างง่ายโดยวิธีจับฉลาก เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ (1) บทเรียนออนไลน์ (2) แบบประเมินคุณภาพบทเรียนออนไลน์ (3) แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน (4) แบบประเมินทักษะทักษะ สถิติที่ใช้ได้แก่ ค่าเฉลี่ย, ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.), การทดสอบประสิทธิภาพ E1/E2 ผลการวิจัยพบว่า 1. ผลการพัฒนาบทเรียนออนไลน์โดยผู้เชี่ยวชาญมีคุณภาพ อยู่ในระดับมาก (ค่าเฉลี่ย = 4.82, S.D. = 0.22), 2. ผลการทดสอบประสิทธิภาพของบทเรียนออนไลน์ มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ E1/E2 (80.74/81.72), 3. ผลการศึกษาดัชนีประสิทธิผลของบทเรียนออนไลน์ ค่าดัชนีประสิทธิผลเท่ากับ .7383 แสดงว่าผู้เรียนที่เรียนรู้ด้วยบทเรียนออนไลน์ มีความรู้เพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 73.83, 4. ผลการศึกษาทักษะการใช้เหตุผลเชิงตรรกะ พบว่านักเรียนหลังจากเรียนด้วยบทเรียนออนไลน์ มีทักษะเฉลี่ยอยู่ในระดับดี ร้อยละ 80.21  This research entails research and development (R&D) with the objectives to (1) Development of e-learning courseware to enhance logical thinking skills on basic computer programming for grade 5 students, (2) Evaluate the effectiveness of e-learning courseware to enhance logical thinking skills on basic computer programming students based on the E1/E2 efficiency criteria (80/80), (3) Study the Effectiveness Index (E.I.) of e-learning courseware to enhance logical thinking skills on basic computer programming students, (4) Assess the logical thinking skills on basic computer programming students. The research and development using the ADDIE Model process, which includes 1) analysis, 2) design, 3) development, 4) implementation and 5) evaluation by experts to assess the quality of the online lessons. The sample group consists of students at Ban Huai Prap School, specifically those studying computing science of the academic year 2023, totaling 45 individuals, sample obtained by simple random sampling. The tools utilized in this research include (1) e-learning courseware to enhance logical thinking skills on basic computer programming. (2) An e-learning quality assessment form (3) Pre-test and Post-test (4) logical thinking skills assessment form. Statistical analysis involves mean, standard deviation (S.D.), and E1/E2 performance test. The results of this study indicate that: 1. The development of e-learning courseware to enhance logical thinking skills on basic computer programming for students received high rating from experts in terms of with an overall high level of quality (average = 4.82, S.D. = 0.22), 2. The testing of the effectiveness of e-learning courseware to enhance logical thinking skills on basic computer programming students performance meeting the E1/E2 criteria, with scores (80.74/81.72), 3. The study of the effectiveness index (E.I.) showed a value of 0.7383, indicating a significant increase in knowledge (73.83 percent) among students who engaged with the e-learning courseware to enhance logical thinking skills on basic computer programming students, 4. The assessment of logical thinking skills post-lessons demonstrated an average proficiency level of 80.21 percent.

References

จงกล เดชสุวรรณ์. (2564). การพัฒนาบทเรียนบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เรี่อง การเขียนโปรแกรม Scratch โดยกิจกรรมการเรียนรู้แบบโครงงานเพี่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต, สาขาวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยนเรศวร.

นิพรร สาลี. (2562). การพัฒนาบทเรียนออนไลน์โดยใช้โครงงานเป็นฐานรายวิชาการออกแบบเว็บไซต์เรื่อง การพัฒนาเว็บไวต์ด้วยภาษา HTML. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยบูรพา.

ศวรรยา วงศ์ขัติ. (2566). การพัฒนาชุดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมทักษะการคิดเชิงตรรกะสำหรับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการสอนคณิตศาสตร์, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัย เชียงใหม่.

วัชระ วงษ์ดี. (2561). การพัฒนาบทเรียนอีเลิร์นนิงโดยใช้กลวิธีปฏิสัมพันธ์และระบบตรวจสอบโปรแกรมอัตโนมัติ เรื่อง การเขียนโปรแกรมภาษาซี สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนตากพิทยาคม. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (การศึกษาวิทยาศาสตร์), การศึกษาวิทยาศาสตร์ (คอมพิวเตอร์), บัณฑิตวิทยาลัย, สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2561). หลักสูตรวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. สืบค้นวันที่ 19 มีนาคม 2567, เข้าถึงได้จาก https://www.ipst.ac.th/curriculum

สิทธิพล วิบูลย์ธนากุล. (2563). ในวันที่เด็กไทยขาด Critical Thinking. สืบค้นวันที่ 19 มีนาคม 2564, เข้าถึงได้จาก https://www.bangkokbiznews.com/lifestyle/866840

อิสราภรณ์ เหลืองศรีสว่าง. (2565). การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ในบทเรียน เรื่อง การใช้เหตุผลเชิงตรรกะกับการแก้ปัญหาในรายวิชาเทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ. วารสารปรัชญาดุษฎีบัณฑิตทางสังคมศาสตร์, 1(2), 11-22.

Education in spotlight. (2565). E-Learning ตอบโจทย์การเรียนยุคใหม่ สะดวกสบายทุกช่วงเวลา. สืบค้นวันที่ 19 มีนาคม 2567, เข้าถึงได้จาก https://nt-metro-service.com/article/e-learning

Additional Files

Published

2024-06-28

Issue

Section

Articles