ดึงดูดใจพนักงานด้วยกลยุทธ์การสร้างแบรนด์นายจ้างเพื่อความได้เปรียบในการแข่งขัน

Attract Employees with Employer Branding Strategies for Competitive Advantage

Authors

  • สมิตา กลิ่นพงศ์

Keywords:

ดึงดูดใจ, แบรนด์นายจ้าง, ความได้เปรียบในการแข่งขัน, Attractive, Employer Branding, Competitive advantage

Abstract

ในยุคสมัยที่การแข่งขันเพื่อแย่งชิงคนเก่งทวีความรุนแรงขึ้น การสร้างแบรนด์นายจ้าง (Employer Branding) จึงกลายเป็นกลยุทธ์สำคัญที่องค์การต่างๆ ต่างให้ความสำคัญ องค์การที่มีการสร้างแบรนด์นายจ้างที่ดีจะสามารถดึงดูดและรักษาพนักงานที่มีความสามารถ เพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน สร้างภาพลักษณ์ที่ดีต่อองค์การ ลดค่าใช้จ่ายในการสรรหาและสร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน วัตถุประสงค์หลักของบทความนี้คือการนำเสนอประเด็นที่เกี่ยวข้องกับ กลยุทธ์การสร้างแบรนด์นายจ้าง โดยในส่วนแรกจะนำเสนอแนวคิดและทฤษฎีการสร้างแบรนด์นายจ้าง ส่วนที่สองเป็นความสำคัญของการสร้างแบรนด์นายจ้าง ส่วนที่สามนำเสนอเกี่ยวกับกลยุทธ์ในการสร้างแบรนด์นายจ้างผ่านแนวคิด Employer Brand Mix 12 มิติ ของ Barrow & Mosley ส่วนที่สี่คือเทคนิคการทำ Employer Branding และส่วนสุดท้ายคือตัวอย่างขององค์การที่มีการสร้างแบรนด์นายจ้าง จากการนำเสนอผู้เขียนจึงสรุปได้ว่าการสร้างแบรนด์นายจ้างช่วยให้องค์การแสดงความแตกต่างและโดดเด่นจากผู้อื่น ดึงดูดคนที่ “ใช่” เข้ามาเป็นสมาชิกขององค์การและเป็นส่วนหนึ่งขององค์การสร้างประสบการณ์เชิงบวกและสร้างภาพลักษณ์ขององค์การที่ชัดเจนให้กับพนักงานทั้งในอดีต ปัจจุบัน และในอนาคตเพิ่มความชัดเจนและสร้างเอกลักษณ์ขององค์การได้ (Clearness and identity) ทำให้พนักงานเชื่อถือและไว้วางใจต่อนายจ้าง สร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน  In an era of intensifying competition for talented people, building a strong employer brand has become an important strategy for various organizations. Strong employer branding enables organizations to attract and retain talented employees, increase work efficiency, create a good image, and reduce recruiting costs, ultimately creating a competitive advantage. The main objective of this article is to present issues related to Employer Branding Strategy. The first part presents concepts and theories of employer branding. The second part discusses the importance of employer branding. The third part presents strategies for building employer brands through Barrow & Mosley's 12-dimensional Employer Brand Mix concept. The fourth part covers Employer Branding Techniques, and the last part provides an example of an organization that has created a strong employer brand. From the presentation, the author concludes that employer branding helps organizations differentiate themselves and stand out from others, attracting the "right" people to become members of the organization and be part of its success. By creating positive experiences that create a clear image of the organization for past, present, and future employees, employer branding fosters trust, reliance, and a strong organizational identity, ultimately leading to a competitive advantage.

References

ดนัย เทียนพุฒ. (2545). การออกแบบและพัฒนาความรู้ในองค์การโดยมืออาชีพเพื่อมืออาชีพ. กรุงเทพมหานคร: นาโกตา.

พจน์ ใจชาญสุขกิจ. (2550). CEO PR & IMAGE: ยุทธวิธีการสร้างภาพลักษณ์ผู้บริหารด้วยการจัดการสื่อสารและประชาสัมพันธ์. กรุงเทพมหานคร: ฐานมีเดีย เน็ตเวิร์ค.

วิริยาภา พุทธสัมฤทธิ์. (2561). การสร้างและพัฒนาภาพลักษณ์องค์การ (Employer Branding) เพื่อจูงใจและรักษาทรัพยากรบุคคลของบริษัทเอ็ทน่า ประกันสุขภาพ (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน). สารนิพนธ์ ปริญญาการจัดการมหาบัณฑิต, วิทยาลัยการจัดการ, มหาวิทยาลัยมหิดล.

Adecco Thailand. (2023). Employer Branding กลยุทธ์สร้างองค์กรให้เป็นที่จดจำในสายตาผู้สมัคร. สืบค้นจาก https://adecco.co.th/th/knowledge-center/detail/hr-insight/employer-branding

Backhaus, K., & Tikoo, S. (2004). Conceptualizing and researching employer branding. Career Development International, 9(5), 501-517.

Balmer, J., & Gray, E. R. (1998). Managing corporate image and corporate reputation. Long Range Planning, 31(5), 695-702.

Barrow, S. (2007). The future of employer branding and HR? Employer branding: the latest fad or the future for HR?. Chartered Institute of Personnel and Development (CIPD) Guide, 12-14.

Gibson, J.W. & Hodgetts, R.M. (1991). Organizational Communication: A managerial Perspective. New York: Harper Collins.

Keller, K. L. (2016). การจัดการแบรนด์เชิงกลยุทธ์: การสร้าง การวัดผล และการจัดการมูลค่าแบรนด์ (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: Pearson Education.

Kotler, P., Kartajaya, H., & Setiawan, I. (2020). การตลาด 4.0: เปลี่ยนจากแบบดั้งเดิมสู่ดิจิทัล. กรุงเทพฯ: Pearson Education.

Likert, R., & Likert, J. G. (1976). New Ways of Managing Conflict. New York: McGraw-Hill.

Workventure. (2023). 5 บริษัท ที่ประสบความสำเร็จในการสร้าง Employer Branding. สืบค้นจาก https://www.workventure.com/blog/5-

Additional Files

Published

2024-06-28

Issue

Section

Articles