The Contribution of folklore to sociolinguistic work: A case study in Thailand

Authors

  • Kanyarat Vechasat
  • Monthira Tamuang

Keywords:

Folklore, Sociolinguistic, Interdisciplinary

Abstract

The main purpose of this paper is to point out the importance of folklore for work in sociolinguistic as Dell Hymes (1971) proposed in his work – the contribution of Folklore to Sociolinguistic Research – that the study of folklore is essential to the progress of the trend in linguistic work called Sociolinguistic”. The data were collected by the research in Thailand, as it is the case study of, and were analyzed by using Linguistics and Folklore criteria. The findings of this study reveal that folklore is strongly across sociolinguistics and both are interdisciplinary   บทความนี้มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อศึกษาความสำคัญของคติชนวิทยาที่มีต่องานทางด้านภาษาศาสตร์เชิงสังคม เช่นที่ เดลล์ ฮาล์ม (๑๙๗๑) ได้กล่าวไว้ในงานของเขาที่ชื่อ “The Contribution of Sociolinguistic Research ” ว่าการศึกษาคติชนวิทยามีความสำคัญต่อแนวทางการศึกษาทางด้านภาษาศาสตร์แขนงหนึ่ง คือ ภาษาศาสตร์เชิงสังคม ข้อมูลที่นำมาวิเคราะห์เก็บจากฐานข้อมูลวิจัยในประเทศไทยซึ่งเป็นกรณีศึกษาและวิเคราะห์โดยใช้แนวคิดทางด้านภาษาศาสตร์และคติชนวิทยา ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่าความรู้ทางด้านคติชนวิทยา มีความเกี่ยวข้องกันอย่างยิ่งกับความรู้ทางด้านภาษาศาสตร์เชิงสังคมและอาจกล่าวได้ว่าทั้งสองสาขานี้เป็นสหวิทยาการอย่างแท้จริง

Downloads

Published

2024-04-22