การพัฒนาโปรแกรมกระบวนการเสริมสร้างศักยภาพการจัดการตนเองของผู้สูงอายุในสาขานายหน้าอสังหาริมทรัพย์

The Self-Management Potential Strengthen Process Program Development for Elderly in the Field of Real Estate Agency

Authors

  • พัชรพงศ์ ชวนชม
  • ธีระวัฒน์ จันทึก
  • พิทักษ์ ศิริวงศ์

Keywords:

นายหน้าอสังหาริมทรัพย์, ผู้สูงอายุ, การจัดการตนเอง, Real estate agency, Elderly, Self-management

Abstract

การวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาแนวโน้มองค์ประกอบของการเป็นนายหน้าอสังหาริมทรัพย์ของผู้สูงอายุ ที่จะนำไปสู่การจัดการตนเอง และ 2) เพื่อศึกษาแนวทางในการพัฒนาโปรแกรมกระบวนการเสริมสร้างศักยภาพการจัดการตนเองของผู้สูงอายุ ในสาขานายหน้าอสังหาริมทรัพย์ โดยงานวิจัยและพัฒนาเป็นแบบผสมผสานด้วยวิธี 1) การวิจัยเชิงคุณภาพเพื่อตรวจสอบกรอบแนวคิดทฤษฎี ด้วยการวิจัยประยุกต์ใช้เทคนิคการวิจัยแบบอนาคตภาพ (Ethnographic Delphi Futures : EDFR) รอบที่ 1 และรอบที่ 2 รวม 17 คน จากนายหน้าอสังหาริมทรัพย์ 2) การวิจัยเชิงปริมาณ การวิเคราะห์ด้วย เทคนิคลำดับชั้นเชิงวิเคราะห์ (Analytic Hierarchy Process : AHP) ผลการวิจัยพบว่า ผลการวิจัยพบว่า องค์ประกอบของโปรแกรมกระบวนการเสริมสร้างศักยภาพการจัดการตนเองของผู้สูงอายุ ในสาขานายหน้าอสังหาริมทรัพย์มี 7 องค์ประกอบหลัก (KANSEAN) คือ ความรู้นายหน้าอสังหาริมทรัพย์ การเจรจาอย่างมีเป้าหมาย การมีเครือข่ายและการประสานงาน การมีทัศนคติที่ดี คุณธรรมจริยธรรม พฤฒพลัง และการจัดการ และผลจากการวิเคราะห์ด้วยเทคนิคลำดับชั้นเชิงวิเคราะห์ (AHP) องค์ประกอบหลักทุกองค์ประกอบมีความสอดคล้องกัน และองค์ประกอบด้านคุณธรรมจริยธรรม ผู้เชี่ยวชาญให้มีน้ำหนักความสำคัญมากที่สุด  This research aims to 1) study trend of elements of being a real estate agency of the elderly that will lead to self-management; 2) study guidelines for the development of self-management capacity building process for the elderly in the field of real estate agency; and 3) develop the process of enhancing the self-management capacity of the elderly In the field of real estate agency. The research is integrated development that has 2 approaches; 1) Qualitative research is divided that to examine the theoretical framework with applied research by Ethnographic Delphi Futures (EDFR) including round 1 and 2 as 17 people from real estate agencies, human resource development experts and elderly experts. As content validation 2) Quantitative research that analyze by Analytic Hierarchy Process (AHP) The research found that there are 7 elements of the process of enhancing self-management capacity of the elderly in the field of real estate agencies. CAN KESS is a real estate agency’s knowledge, goal negotiation, network and coordination, a good attitude and ethics, active aging and self-management that the development of self-management capacity. The result of indicates that every main factors are coherent and ethic factor has the most influence.

References

เจนพล ทองยืน. (2552). กฎหมายธุรกิจ. กรุงเทพฯ: วิญญูชน.

เฉลิมพล แจ่มจันทร์ และสวรัย บุณยมานนท์. (2554).แรงงานสูงวัยและการคาดการณ์ผลกระทบจากการขยายกำหนดเกษียณอายุ. ประชากรและสังคม 2554: จุดเปลี่ยนประชากรจุดเปลี่ยนสังคมไทย. นครปฐม: สถาบันวิจัยประชากรและสังคมมหาวิทยาลัยมหิดล.

ชัยวัฒน์ วงศ์อาษา. (2556). การเห็นคุณค่าในตนเอง.กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยมหิดล.

ธนยศ สุมาลย์โรจน์ และฮานานมูฮิบบะตุดดีน นอจิ สุขไสว.(2558). ผู้สูงอายุในโลกแห่งการทำงาน: มุมมองเชิงทฤษฎีทางกายจิตสังคม. กรุงเทพฯ: สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์.

บุญชนะ บุญเลิศ. (2553). สูตรลับการสร้างเงินในอสังหาริมทรัพย์. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น.

ภัทรพรรณ ทำดี. (2560). ตัวตน สังคม วัฒนธรรม: เงื่อนไขสู่การสูงวัยอย่างมีศักยภาพ. วารสารสังคมศาสตร์, 47(2), 109-131.

สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2558). สรุปผลที่สำคัญการทำงานของผู้สูงอายุในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2557. วันที่ค้นข้อมูล 5 เมษายน 2559, http://www.nso.go.th/sites/2014/DocLib13/%e0%b8%94%e0%b9%89%e0%b8%b2%e0%b8%99%e0%b8%aa%e0%b8%b1%e0%b8%87%e0%b8%84%e0%b8%a1/%e0%b8%aa%e0%b8%b2%e0%b8%82%e0%b8%b2%e0%b9%81%e0%b8%a3%e0%b8%87%e0%b8%87%e0%b8%b2%e0%b8%99/Labor_of_the_elderly/Labor_of_the_elderly_2557/7.%20%e0%b8%aa%e0%b8%a3%e0%b8%b8%e0%b8%9b%e0%b8%9c%e0%b8%a5%e0%b8%97%e0%b8%b5%e0%b%88%e0%b8%aa%e0%b8%b3%e0%b8%84%e0%b8%b1%e0%b8%8d.pdf

สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2560). ดัชนีพฤฒพลังผู้สูงอายุไทย. กรุงเทพฯ: บริษัท เท็กซ์ แอนด์ เจอร์นัลพับลิเคชั่นจำกัด

โสภณ พรโชคชัย (2558). ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์. กรุงเทพฯ: โรงเรียนธุรกิจอสังหาริมทรัพย์.

อัครวินท์ ศาสนพิทักษ์. (2559). การขยายอายุที่จะเกษียณในสังคมผู้สูงอายุ. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธนบุรี, 11(24), 90-96.

อุบลรัตน์ เพ็งสถิตย์. (2543). จิตวิทยาผู้สูงอายุ. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

Branden, N. (2001). The psychology of self-esteem: a revolutionary approach to self-understanding that launched a new era in modern psychology. Hoboken, NJ: Jossey-Bass.

Cai, Z., Guan, Y., Li, H., Shi, W., Guo, K., Liu, Y., ... & Hua, H. (2015). Self-esteem and proactive personality as predictors of future work self and career adaptability: An examination of mediating and moderating processes. Journal of Vocational Behavior, 86, 86-94.

Christensen K., Doblhammer, G., Rau, R., Vaupel J. W. (2009). "Ageing populations" The Challenges Ahead. The Lancet, 374, 1196–208.

Creer, T. L. (2000). Self-management of chronic illness. In Handbook of self-regulation (pp. 601-629). Academic Press.

Laidlaw, K., Power, M. J., &Schmidt, S. (2007). The Attitudes to Ageing Questionnaire (AAQ): development and psychometric properties. International Journal of Geriatric Psychiatry: A journal of the psychiatry of late life and allied sciences, 22(4), 367-379.

Lindhal, D. (2008). Emerging Real Estate Markets: How to Find and Profit from Up and Coming Neighborhoods. New Jersey: John Wiley & Sons, Inc.

Lorig, K. R., & Holman, H. R. (2003). Self-management education: history, definition, outcomes, and mechanisms. Annals of behavioral medicine, 26(1), 1-7.

Havighurst, R. J. (1963). Successful aging. Processes of aging: Social and psychological perspectives, 1, 299-320.

Robin, E. (2018). Performing real estate value (s): Real estate developers, systems of expertise and the production of space. Geoforum, April (2018).1-11.

Rosenberg, M. (1979). Conceiving the Self. New York: Basic Books.

Saaty, T. L., & Vargas, L. G. (2012). The seven pillars of the analytic hierarchy process. In Models, methods, concepts & applications of the analytic hierarchy process (pp. 23-40). Boston, MA: Springer.

Sharit, J., & Czaja, S. J. (1999). Performance of a computer-based troubleshooting task in the banking industry: Examining the effects of age, task experience, and cognitive abilities. International Journal of Cognitive Ergonomics, 3(1), 1-22.

Thanakwang, K. & Soonthorndhada, K. (2006). Attributes of active ageing among older persons in Thailand: evidence from the 2002 survey. Asia-Pacific Population Journal, 21(3), 113-135.

Wilkinson, S., & Reed, R. (2008). Property Development. Oxfordshire: Routledge.

World Health Organization. (2002). Active Ageing: A Policy Framework. Geneva: World Health Organization.

Downloads

Published

2023-01-05