ปัจจัยทำนายการกำหนดกระบวนสงเคราะห์ช่วยเหลือในกลุ่มผู้ได้รับการปล่อยตัว ตามเงื่อนไขการคุมประพฤติ

Factors Affecting the Support Process for Released Prisoner with the Condition of Probation

Authors

  • เปรมฤดี เพ็ชรกูล
  • วิเชียร ปรีชาธรรมวงศ์
  • พงษ์อภินันท์ จันกลิ่น
  • วิรวรรณ บรรจงช่วย
  • โชติมา สุรฤทธิธรรม

Keywords:

กลุ่มผู้ได้รับการปล่อยตัวตามเงื่อนไขคุมประพฤติ, ลบประวัติอาชญากร, กระบวนการสงเคราะห์ช่วยเหลือภายหลังปล่อย, การกระทำผิดซ้ำ, released prisoner with the condition of probation, expungement, prisoner release support process, recidivism

Abstract

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาเปรียบเทียบความคิดเห็นต่อการกำหนดกระบวนการสงเคราะห์ช่วยเหลือของกลุ่มผู้ได้รับการปล่อยตัวตามเงื่อนไขการคุมประพฤติแยกตามปัจจัยส่วนบุคคล 2) เพื่อศึกษาปัจจัยทำนายการกำหนดกระบวนการสงเคราะห์ช่วยเหลือของกลุ่มผู้ได้รับการปล่อยตัวตามเงื่อนไขการคุมประพฤติเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือแบบสอบถามเก็บรวบรวมข้อมูลกับกลุ่มตัวอย่างจำนวน 652 คน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยความถี่ร้อยละค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบสมมติฐานโดยใช้ค่าการวิเคราะห์ความแปรปวนทางเดียว (One-way ANOVA) และทดสอบการวิเคราะห์การถดถอยเชิงเส้นอย่างง่าย (Simple Linear Regression Analysis) กำหนดระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ .05 ผลการศึกษาพบว่าระดับความสามารถในการทำตามเงื่อนไขเพื่อลบประวัติอาชญากรอยู่ในระดับมาก (ค่าเฉลี่ย =4.69) และระดับความคิดเห็นต่อการกำหนดกระบวนสงเคราะห์ช่วยเหลือของกลุ่มตัวอย่างอยู่ในระดับมาก (ค่าเฉลี่ย =4.55) ผลการทดสอบสมมติฐานพบว่าอายุขณะได้รับการปล่อยตัวระยะเวลาการถูกควบคุมตัวในเรือนจาต่างกันมีความคิดเห็นต่อการกำหนดกระบวนการสงเคราะห์ช่วยเหลือผู้ได้รับการปล่อยตัวตามเงื่อนไขการคุมประพฤติแตกต่างกันและความสามารถในการทำตามเงื่อนไขเพื่อแลกกับการลบประวัติอาชญากรสามารถใช้เป็นตัวพยากรณ์ในการคาดคะเนความคิดเห็นของการกำหนดกระบวนการสงเคราะห์ช่วยเหลือได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05  The objectives of this study were: (1) to compare the attitudes of prisoner release support process with the condition of probation classified by individual factors 2) to identify predictive factors of the aftercare process among released prisoners with the condition of probation. The questionnaire is the instrument for collecting data in survey research for 625 respondents and analyzed through descriptive statistics including percentage, mean, and standard deviation as well as inferential statistics including One-way Analysis of Variance and Simple Linear Regression Analysis at the 0.05 significance level. This research found that the high level of ability of sample to follow the conditions for deleting the criminal records (average = 4.69) and the high level of the attitude for the prisoner release support process (average = 4.55). Hypotheses of research were 1) the different personal factors including age at release from prison and the length of incarceration had different attitudes of the prisoner release support process and 2) ability of sample to follow the conditions for expungement of record is the predictive factors affecting the attitude for prisoner release support process, both hypotheses are a statistical significance level of 0.05.  

References

กรมคุมประพฤติ. (ม.ป.ป). ภารกิจกรมคุมประพฤติ. วันที่ค้นข้อมูล 18 พฤศจิกายน 2562, เข้าถึงได้จากhttp://www.probation.go.th/contentdl.php?id=424

กลุ่มงานนโยบายและแผนกองยุทธศาสตร์และแผนงานกรมราชทัณฑ์.(2562). แผนปฏิบัติราชการกรมราชทัณฑ์ พ.ศ.2563 -2565. นนทบุรี: กรมราชทัณฑ์.

กรุงเทพธุรกิจออนไลน์. (2558). ปรับเงื่อนไขลบชื่ออาชญากร ลดอุปสรรค“คนมีประวัติ”กลับตัว. วันที่ค้นข้อมูล 15 พฤศจิกายน 2562, เข้าถึงได้จาก http://www.bangkokbiznews.com/news/detail/642325

กองพัฒนาพฤตินิสัย. (2562). แผนรองรับการช่วยเหลือผู้ต้องขังที่ได้รับการพระราชทานอภัยโทษปล่อยตัวปี พ.ศ. 2562 (ออนไลน์). จาก http://www.correct.go.th/pti/?page_id=1354, 15 พฤศจิกายน 2562.

กิตติพงษ์ กิตยารักษ์ และคณะ. (2545). กระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์: ทางเลือกใหม่สำหรับกระบวนการยุติธรรมไทย. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์เดือนตุลา.

ดล บุนนาค. (2552). ยุติธรรมทางเลือกกับการเข้าถึงความยุติธรรมในสังคมไทย. ในการประชุมกลุ่มย่อย“กระบวนการยุติธรรม: การมีส่วนร่วมทางเลือกและการเข้าถึง”. การประชุมทางวิชาการระดับชาติว่าด้วยงานยุติธรรมครั้งที่ 7. นนทบุรี: ศูนย์การประชุมอิมแพคเมืองทองธานี.

ไทยโพสต์ออนไลน์. (2562). สร้างศูนย์ฟื้นฟูฯ คนไร้บ้านแห่งที่ 3 ที่ปทุมธานีเป็นแหล่งพักพิง-สร้างชีวิตใหม่ เผยผลสำรวจพบคนไร้บ้านทั่วประเทศ 2,669 คน. วันที่ค้นข้อมูล 15 พฤศจิกายน 2562, เข้าถึงได้จากhttps://www.thaipost.net/main/detail/47064

ธวัชชัย ชัยวัฒน์. (2561). มาตรการเชิงรุกในงานราชทัณฑ์: ศึกษาเฉพาะกรณีจุดเริ่มต้นงานราชทัณฑ์ตำบลขยายผลสู่การบูรณาการติดตามช่วยเหลือผู้ต้องขังหลังพ้นโทษ. วันที่ค้นข้อมูล 25 พฤศจิกายน 2562, เข้าถึงได้จากwww.dsdw2016.dsdw.go.th›doc_pr›ndc_2560-2561›PD ›รวม

ยศพนต์ สุธรรม. (2561). รูปแบบการมีส่วนร่วมเพื่อคืนคนดีสู่สังคมระหว่างศูนย์ยุติธรรมชุมชนและเรือนจำกลางฉะเชิงเทรา. วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต, สาขาวิชาการจัดการเพื่อการพัฒนา, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์.

Andersen, S. N., & Skardhamar, T. (2014). Pick a number: Mapping recidivism measures and their consequences. Oslo: Statistics Norway Discussion Papers.

Chamberlain, A. W. (2012). Offender rehabilitation: Examining Changes in inmate treatment characteristics, program participation, and institutional behavior. Justice Quarterly,29(2),183-228.

Chamberlain, A. W., & Wallace, D. (2016). Mass Reentry, Neighborhood Context and Recidivism: Examining How the Distribution of Parolees Within and Across Neighborhoods Impacts Recidivism. Justice Quarterly, 33(5), 912-941.

Cooper, J. A., Fox, A.M., & Rodriguez, N. (2012). Race, structural disadvantage, and illicit drug use among arrestees. Crim. Justice Policy Rev, 23(1), 18-39.

Dunkel, F. (2016). The rise and fall of prison population rates in Europe. Newsletter of the European Society of criminology, 1(15), unpaged.

Hamilton, L., & Belenko, S. (2019). Substance use Disorder Treatment in the Reentry Environment. Criminal Justice and Behavior, 46(9), 1295-1301.

Jackson, A., & Gray, K. (2019). Bills to expand criminal record expungement pass Michigan House Detroit Free Press. Retrieved November 5, 2019, from https://www.freep.com/story/news/ local/Michigan/2019/11/05/criminal-record-expungement-michigan-house-approvesbills/ 4167338002/

La Vigne, N., & Parthasarathy, B. (2005). Returning home Illinois policy brief: Prisoner reentry and residential mobility. Washington, DC: Urban Institute.

Larney, S., Stove, M., & Kinner, S.A. (2018). Substance use after release from prison. In Kinner, S.A., Rich, J.D. (Eds.), Drug use in Prisoners: Epidemiology, Implications, and Policy Responses. (pp. 85-98). New York: Oxford University Press.

Lee, B. A., Tyler, K. A., & Wright, J. F. (2010). The new homelessness revisited. Annual Review of Sociology, 36, 501-521.

Rich J.D., Chandler, R., Williams, B.A., Dumont, D., Wang, E.A., Taxman, F.S., Allen, S.A. Clarke, J.G., Greifinger, R.B., Wilderman, C., Osher, F.C., Rosenerg, S., Haney, C., Mauer, M., & Western, B., (2014). How health care reform can transform the health of criminal justice-involved individuals. Health Aff, 33, 462-467.

Shaw, M. (2004). Housing and public health. Annual Reviews of Public Health, 25, 397-418.

Singapore Legal Advice. (2019). Criminal Records in Singapore. Retrieved November 5, 2019, from https://singaporelegaladvice.com/

Tsai, J., & Resenheck, R. A. (2012). Incarceration among chronically homeless adults: Clinical correlates and outcomes. Journal of Forensic Psychology Practice, 12(4), 307-324.

Visher, C.A., & Courtney, S.M.E. (2006). Cleveland’s Prisoners’ Experiences Returning Home. Wachingt on, D.C.: Urban Institute.

Western, B. (2015). Lifetimes of violence in a sample of released prisoners. RSF: Russell Sage Found. J. Soc. Sci, 1(2),14-30.

Western, B., Simes. J. T. (2019). Drug use in the year after prison. Social Science & Medicine, 235,1-7.

Downloads

Published

2023-08-08