ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำ ปัจจัยการเสริมแรงจูงใจ และความมุ่งมั่นให้นักกีฬาเป็นเลิศของผู้ปกครอง กรณีศึกษา สนามฝึกซ่อมกีฬาแบดมินตันในเขตกรุงเทพมหานคร

The Relationship Between Leadership Motivation Enhancing Factors and Determination for Athletes to be Excellent of Parents of Badminton Players Case Study: Badminton Training Field in Bangkok

Authors

  • อาภรณ์ คุระเอียด
  • ปกรณ์ ปรีชาภรณ์

Keywords:

ภาวะผู้นำ, ปัจจัยการเสริมแรงจูงใจ, ความมุ่งมั่นให้นักกีฬาเป็นเลิศ, Leadership of Parents, Motivation Enhancing Factors, Excellence of Badminton Players

Abstract

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาระดับการมีภาวะผู้นำของผู้ปกครอง ปัจจัยการเสริมแรงจูงใจให้ผู้ปกครอง และความเป็นเลิศนักกีฬาแบดมินตัน และเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำของผู้ปกครอง ปัจจัยการเสริมแรงจูงใจให้ผู้ปกครอง และความเป็นเลิศนักกีฬาแบดมินตัน กลุ่มตัวอย่างผู้ปกครองนักกีฬาแบดมินตันชาย-หญิงเดี่ยวรุ่นอายุ 9, 11, 13 ปี ขนาดกลุ่มตัวอย่างจำนวน 260 คน ที่มีการฝึกซ่อม ณ สนามฝึกซ่อมกีฬาแบดมินตัน เขตกรุงเทพมหานครจำนวน 10 แห่ง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยแบบสอบถามภาวะผู้นำเสริมแรงจูงใจของผู้ปกครองส่งผลต่อความเป็นเลิศนักกีฬาแบดมินตัน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูปโดยหาค่าความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย (average) ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และทดสอบสมมติฐานโดยการทดสอบ ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน (Pearson’s Correlation Coefficient) สองทาง ผลการวิจัยพบว่า ระดับค่าเฉลี่ยของปัจจัยการเสริมแรงจูงใจให้ผู้ปกครองมากที่สุด รองลงมาค่าเฉลี่ยของความเป็นเลิศนักกีฬาแบดมินตัน ระดับมากและรองลงมาค่าเฉลี่ยของภาวะผู้นำของผู้ปกครอง ระดับมาก และภาวะผู้นำของผู้ปกครองมีความสัมพันธ์ในทางบวกในระดับมาก กับปัจจัยการเสริมแรงจูงใจให้ผู้ปกครอง และความเป็นเลิศนักกีฬาแบดมินตันในทางบวกในระดับมาก อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และปัจจัยการเสริมแรงจูงใจให้ผู้ปกครองมีความสัมพันธ์ในทางบวกในระดับมากกับความเป็นเลิศนักกีฬาแบดมินตันในทางบวกในระดับมาก อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05  This research has the objective to study the level of leadership of parents Factors that enhance motivation for parents and excellence in badminton athletes and to study the relationship between parental leadership Factors that enhance motivation for parents and excellence in badminton athletes A sample group of parents of male and female badminton singles players aged 9, 11, 13 years, sample size of 260 people who had repair training at the badminton repair field. There were 10 locations in Bangkok. The instrument used in the research was a leadership questionnaire to enhance the motivation of parents to affect the excellence of badminton athletes. Data were analyzed using ready-made computer programs by finding frequency (Frequency), percentage, mean (average), standard deviation (S.D.) and testing hypotheses by testing. Two-way Pearson's Correlation Coefficient The research results found that The average level of the factors that enhance motivation for parents the most Next is the average of excellence in badminton athletes. The highest level and the lowest mean level of parental leadership, high level and parental leadership are positively related at a high level. with factors that increase motivation for parents and the excellence of badminton athletes in a positive way at a high level Statistically significant at the .05 level and the factor of enhancing motivation for parents has a positive relationship at a high level with the excellence of badminton athletes in a very positive way. Statistically significant at the .05 level.

References

Popat, A. (2011). What makes the Chinese world beaters in Badminton. วันที่ค้นข้อมูล 9 มกราคม 2565, เข้าถึงได้จาก https://www.firstpost.com/blogs/what-makes-the-chinese-world-beaters-in-badminton-72259.html

Golf Time. (2562). สิ่งที่ควรและไม่ควรทำในการเป็นผู้ปกครองของนักกีฬา. วันที่ค้นข้อมูล 9 มกราคม 2565, เข้าถึงได้จาก https://www.golftime.co.th/18780

Loughead, T. M., & Hardy, J. (2005). An examination of coach and peer leader behaviors in sport. Psychology of Sport and Exercise, 6, 303-312.

Price, M. S., & Weiss, M. R. (2011). Peer leadership in sport: Relationships among personal characteristics, leader behaviors, and team outcomes. Journal of Applied Sport Psychology, 23, 49-64.

Stan Boonein Badminton. (2014). Why are Chinese players so good at badminton?. วันที่ค้นข้อมูล 9 มกราคม 2565, เข้าถึงได้จาก https://racketsportsworld.com/china-best-badminton/

Thpanorama. (2023). ทำให้ตัวเองดีขึ้นวันนี้ แรงจูงใจทางการกีฬา. วันที่ค้นข้อมูล 24 พฤศจิกายน 2566, เข้าถึงได้จาก https://th.thpanorama.com/articles/motivacin/motivacin-deportiva-6-rasgos-de-los-grandes-deportistas.html

จิตตภู กลิ่นประชุม. (2559). เรื่อง การตัดสินใจของผู้ปกครองในการส่งเสริมเยาวชนเล่นกีฬาเทนนิสในเขตกรุงเทพฯ. หลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการจัดการกีฬา, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยมหิดล.

ปวีณา ลาสงยาง. (2559). แรงจูงใจของผู้ปกครองต่อการส่งบุตรหลานเข้าศึกษาในโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการสุวรรณภูมิ สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 2. วันที่ค้นข้อมูล 9 มกราคม 2565, เข้าถึงได้จาก http://www.edu-journal.ru.ac.th/AbstractPdf/2560-2-1_1510810604_is-bkk7-sec11-0058. pdf

เรณู ฤาชา. (2560). แรงจูงใจและแนวทางการเสริมสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูโรงเรียนมัธยมศึกษา สหวิทยาเขตวังบูรพา จังหวัดสระแก้ว สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 7. หลักสูตรการศึกษามหาบัณฑิต, สาขาวิชาการบริหารการศึกษา, คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา.

วทัญญู ลีวง์วรกุล. (2559). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อแรงจูงใจในการติดตามกีฬาฟุตบอลไทยของคนไทย. หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยกรุงเทพมหานคร.

วันดี คำทำ ศรีสมร สุริยาศศิน มณฑิรา จารุเพ็ง และอุมาภรณ์ สุขารมณ์. (2562). ทำการศึกษาเรื่อง การศึกษาเปรียบเทียบประสบการณ์การแข่งขันกีฬาและแรงจูงใจด้านกีฬากับปัจจัยส่วนบุคคลของนักเรียนโรงเรียนกีฬา จังหวัดนครสวรรค์. ใน การประชุมหาดใหญ่วิชาการระดับชาติและนานาชาติครั้งที่ 10 (หน้า 379-390). 12 – 13 กรกฎาคม 2562. ณ ห้องประชุม อาคารคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลาสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศไทย. (2559). การจัดทำแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 6 (พ.ศ. 2560-2564) และร่างแผนพัฒนาการกีฬา แห่งชาติ ฉบับที่ ๖ (พ.ศ. 2560-2564). ม.ป.ท.

มูลนิธิสยามกัมมาจล. (2566). ทักษะกีฬา ทักษะชีวิต (เยาวชนกลุ่มไผ่รวมก่อ ตำบลท้ายสำเภา อำเภอพระพรหม จังหวัดนครศรีธรรมราช). วันที่ค้นข้อมูล 24 พฤศจิกายน 2566 เข้าถึงได้จาก https://www.scbfoundation.com/activity-detail/

สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์. (2562). หัวหน้าครอบครัว. วันที่ค้นข้อมูล 9 มกราคม 2566, เข้าถึงได้จาก https://www.smarttoinvest.com/Pages/Know%20 Investment/InvestForLife/HeadFamily.aspx

อภิชัย ธีระรัตน์สกุล. (2564). เรื่องการจัดการแบดมินตันเพื่อการเป็นแบดมินตันอาชีพอย่างยั่งยืนในประเทศไทย. วารสารสังคมศาสตร์และมานุษยวิทยาเชิงพุทธ, 6(9), 66-81.

Downloads

Published

2024-01-26