กระบวนการสร้างสรรค์การแสดงจากวัฒนธรรมท้องถิ่นจังหวัดชลบุรี: การแสดงชุด เอ็งกอยุทธนารี

Authors

  • นพพล จําเริญทอง

Keywords:

Eang – Gor, เอ็งกอ, เอ็งกอยุทธนารี, วัฒนธรรมท้องถิ่น, ชลบุรี

Abstract

          การแสดงชุด เอ็งกอยุทธนารี ผู้สร้างสรรค์ได้ทําการศึกษาการกํากับและออกแบบท่าทางการเต้นเอ็งกออําเภอพนัสนิคม โดยนํามาสร้างสรรค์ผลงานใหม่ ซึ่งมีพื้นฐานการแสดงมาจากพื้นฐานนาฏศิลป์ไทย ผู้สร้างสรรค์ได้สร้างสรรค์งาน โดยใช้นักแสดงเป็นผู้หญิงแสดงทั้งหมด และทําการออกแบบท่า โดยการนําเอาหลักทฤษฎีท่าทางการเต้นของเอ็งกอพนัสนิคมเข้ามาสร้างสรรค์ผลงาน ในการตีไม้โดยปรับใช้กับท่ารํานาฏศิลป์ไทยและยังคงท่าทางการเต้นเอ็งกอที่เป็นเอกลักษณ์ไว้ และคิดสร้างสรรค์ท่าทางการออกอาวุธ และการตีไม้ขึ้นใหม่ในของแต่ละช่วงการแสดง รวมถึงการนําเอาการจัดกระบวนทัพในการแสดงโขน และการจัดกระบวนทัพในรูปแบบระบําไทยมาสร้างสรรค์ผลงาน           The Performance ‘Eang –Gor Yuthanaree’, the new work for study directing and choreography of the adapted of Panasnikom district’s ‘Eang-Gor’ ritual performance along with the traditional Thai chorography. The Performance is performed by female dancers only. The Choreography is combined with Eang- Gor’s dance movement principle, ‘Tee mai’ (hitting sticks) and Thai classical dance movement. Eang-Gor unique of movement, ‘Ten Eang- Gor’ (Eang-Gor dance steps) is stills used. The new using stick as a weapon in Eang-Gor dance is choreographed. The military parade pattern form ‘Khon’ performance are using for created a new choreograph in performance.

Downloads