การออกแบบเสียงในการแสดงเพลงลูกทุ่ง

Authors

  • ธนะรัชต์ อนุกูล

Keywords:

การออกแบบเสียง, การแสดง, เพลงลูกทุ่ง

Abstract

          การออกแบบเสียงในการแสดงเพลงลูกทุ่งมีวัตถุประสงค์ในการออกแบบเสียง 1. เสียงที่ถูกขยายและจัดกระทําออกมาต้องมีคุณลักษณะของเสียงของเครื่องดนตรีที่ถูกต้อง 2. มีความเหมาะสมต่อรูปแบบการแสดง การจัดวางรูปแบบวง ขนาดของเวทีการแสดงและขนาดและลักษณะของหอแสดง 3. เสียงที่ผู้ชมและผู้ฟังได้รับฟังมีความไพเราะและเกิดความสุนทรีย์เมื่อได้รับชมและรับฟัง ขอบเขตในการออกแบบเสียงสําหรับวงดนตรีเพลงลูกทู่งที่มีรูปแบบวงประเภทบิ๊กแบนด์          ผลจากการออกแบบเสียงในการแสดงเพลงลูกทุ่ง พบว่าเสียงที่ถูกขยายมีความถูกต้องตามคุณลักษณะของเครื่องดนตรีและเสียงร้อง มีความเหมาะสมต่อรูปแบบการแสดงเพลงลูกทุ่งไทยที่ให้ความสนุกสนานและความไพเราะของบทเพลงได้เป็นอย่างดี เสียงถูกออกแบบให้มีความชัดเจนทั้งบนเวทีและในบริเวณของผู้ชม ความไพเราะที่เกิดขึ้นจากการบรรเลงและขับร้องไม่เกิดลักษณะของเสียงที่ผิดเพี้ยนหรือเกิดความผิดปกติของเสียงให้เสียอรรถรสในการรับฟังทําให้ผู้ชมและผู้ฟังมีอารมณ์ที่รู้สึกถึงความสุนทรียภาพทางเสียงได้เป็นอย่างดี               Therefore, the aims of the sound design and management of HRH Princess Maha Chakri Sirindhorn Look Toong’s vocal competition among Thai higher education institutes are: (1) The expanded sound has the accurate instrumental characteristic. (2) The expected sound is suitable for performance style, instruments settings, stage’s size and concert hall dimensions. (3) The audiences can perceive melodious voice and appreciate aesthetics.          Results are instruments and sound system design plan, which keep both performers and audiences in mind. Since, each musicians and vocalists could hear every instrumental and vocal voices clearly, their performance is more effective. Moreover, while the audience could hear every single instrumental sounds correctly, the harmonious melody arises from the rhythm instrumental sound group management, followed by the wind instrumental sound group and the vocal sound management.

Downloads