การออกแบบฉากรูปแบบสัญลักษณ์นิยมในละครสัจนิยม: ละครเวทีเรื่อง Kitchen’s Monologue

Authors

  • คณพศ วิรัตนชัย
  • เกษมศักดิ์ ศรีโสภณ

Keywords:

แนวคิดสัญลักษณ์นิยม, การออกแบบฉาก, การออกแบบ, การแสดง

Abstract

          บทความวิชาการฉบับนี้เป็นการนำเสนอแนวคิดและวิธีการสร้างสรรค์ฉากละครเวทีโดยนำผลผลงาน วิจัยศิลปะการแสดงเรื่อง “Kitchen’s Monologue” ของนิสิตนำมาวิเคราะห์และอภิปรายเพื่อเสนอแนวทาง การแก้ปัญหาการสร้างสรรค์และออกแบบฉากด้วยรูปแบบสัญลักษณ์นิยมให้สอดคล้องและเป็นไปตามที่ ผู้สร้างสรรค์ต้องการโดยนำเสนอแนวคิดหลักของการออกแบบคือ มนุษย์คนหนึ่งที่สามารถยืนหยัดอยู่ได้ด้วย ตัวเองโดยไม่หวั่นว่าสถานการณ์นั้น ภายใต้แก่นเรื่องที่ต้องการนำเสนอ คือ ชีวิตที่สมบูรณ์ อาจไม่สมบูรณ์ เสมอไป ผลการดำเนินการสร้างสรรค์พบว่าวิธีการออกแบบฉากรูปแบบสัญลักษณ์นิยม (symbolic set) ใน ละครสัจนิยม (realism) นิสิตผู้เรียนมีปัญหาในการใช้สัญลักษณ์ในการสร้างฉากละครเวทีเพื่อสื่อสารกับผู้ชม จึงสรุปแนวทางในใช้สัญลักษณ์การออกแบบเพื่อวิเคราะห์ปัญหาแนวทางพร้อมนำเสนอวิธีการให้สอดคล้อง ไปตามผู้สร้างสรรค์ต้องการได้ดังนี้คือ การวิเคราะห์บทละคร วิเคราะห์ฉากในบทละคร วิเคราะห์ฉากที่ใช้ในการแสดง เพื่อการรับสารที่ละครเวทีต้องการให้เกิดเป็นภาพปรากฏบนพื้นที่ ผู้สร้างสรรค์เลือกตัดทอนสิ่งที่ไม่สำคัญต่อการแสดงออกโดยเลือกสิ่งที่มีผลต่อตัวละครรวมถึงพื้นที่ที่ตัวละครใช้ที่ทำให้สัญลักษณ์ที่ต้องการ สื่อสารสามารถสื่อสารกับผู้ชมได้ โดยอาจเป็นเลือกใช้รูปงานศิลปะ หรือภาพที่สามารถบ่งบอกความต้องการ สื่อสารเพื่อค้นหาจินตภาพที่นักออกแบบและผู้กำกับมองเห็นทิศทางการออกแบบที่ต้องการสื่อสารกับผู้ชมให้ ไปในทิศทางเดียวกัน และนำไปสร้างสรรค์ตามแนวคิดและวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้           This academic paper presents the idea and process of creating a stage set by using a performing arts research written by a student titled “Kitchen’s Monologue” which results were analyzed and discussed the solution of creating and design problems. The main idea of conceptual design is “A man who can stably stand by himself in any situations” under the theme “A perfect life might be imperfect”. The study shows that the students cannot use the symbol well to create the scene and communicate with audience. The design of symbolic set in the realism theatre for analyzing and solve the problems needs 4 steps: play analysis; play scene analysis; stage scene analysis for making a realist scene; and select the symbolic image from the process of play scene analysis step. The creator reduced the unnecessary details which affect the characters and spaces involving the audience communication by using the pictures of art or the pictures that designer and director could understand in the same direction to create through the ideas and objectives.

Downloads