แนวคิดการแสดงเพื่อการสร้างสรรค์การขับร้องเพลงไทย
Keywords:
การแสดงร่วมสมัย, การสร้างสรรค์การขับร้องเพลงไทย, การแสดงAbstract
บทความวิจัยนี้เป็นส่วนหนึ่งของงานวิจัยเรื่อง “การวิเคราะห์การขับร้องและการสร้างสรรค์จาก ผลงานศิลปะการแสดงร่วมสมัยเรื่อง ลงเกี้ยวและพญาฉัททันต์” ผลงานการแสดงทั้งสองผลงานเป็นการ สร้างสรรค์บทเพลงเพื่อการแสดงร่วมสมัยภายใต้การกำกับดนตรีโดยสินนภา สารสาส จำนวน 4 บทเพลงได้แก่ เพลงลงเกี้ยว (Long Keaw), เพลงลงสรง (Bathing of Phaya Chattan), เพลงล่า (The Hunt), และเพลงสละงา (The Sacrifice) เป็นบทเพลงที่แต่งขึ้นใหม่จากทำนองเพลงไทยเดิมคือ เพลงโอ้โลมและโอ้ชาตรี ในฐานะผู้ขับร้องบทเพลงทั้ง 4 เพลงนี้ผู้เขียนใช้กลวิธีของการแสดงละครเวทีมาปรับใช้ในการขับร้อง ได้แก่การวางลักษณะอุปนิสัยของตัวละคร จุดมุ่งหมายของการร้อง การตีความบทเพลง และความต้องการ ของตัวละครเพื่อเชื่อมโยงความคิด ความรู้สึกกับเทคนิคในการขับร้องเพลงไทยจนสามารถปรับใช้ในการร้อง เพลงไทยในการแสดงที่มีอารมณ์ ความรู้สึกในฐานะตัวละครในการแสดงร่วมสมัย This article is part of research “The Singing Creativity from Contemporary performance: An analysis of Longkeaw and Phaya Chattan” that aimed to use new singing techniques in the contemporary Thai performance: Longkeaw and Phaya Chattan whose music was composed by Sinnapa Sarasas from two Thai Classical songs, Oah Chartree and Oah Loam. For these performances, I used two techniques from western theatre, characterization and interpretation in my singing. By characterization, I mean embodying the meaning and the feeling of the words I am singing. These common techniques used by actors work well to creatively engage and enhance the traditional Thai singing that I did in four songs from two performances, Long Keaw, The Bathing of Phaya Chattan, The Hunt and The Sacrifice. I used the characterization and interpretation techniques from acting to help me to understand the situation of the song and to deepen and provide nuance the complicated feelings of the characters in each song, so that I can express the feeling of each character in each song to make the traditional songs more dynamic and better able to engage the audience.Downloads
Issue
Section
Articles