การล่าอาณานิคมของชาติตะวันตก: มีอิทธิพลต่อวัฒนธรรมทางดนตรีที่หลากหลายในทวีปอเมริกา

Authors

  • กานต์ กุลานุพงศ์

Keywords:

ดนตรีแจ๊ส, ดนตรีแซมบา, ดนตรีบอสซาโนวา, ดนตรี

Abstract

          บทความวิชาการนี้จัดทำเพื่อนำเสนอลักษณะมุมมองสำคัญที่เกี่ยวข้องกับอิทธิพลของดนตรีและวัฒนธรรมต่างๆ ที่ได้มาจากการล่าอาณานิคมของชาติตะวันตกมาในทวีปอเมริกา ดังนั้นบทความนี้จะมุ่งเน้นในการศึกษาเกี่ยวกับความเป็นมาสำคัญ ในมุมมองที่เป็นลักษณะเฉพาะของดนตรีแจ๊ส ดนตรีแซมบารวมไปถึงดนตรีบอสซาโนวา โดยเฉพาะในเรื่องของจังหวะ อีกทั้งที่มาที่ไปของแนวคิดในทางดนตรีเหล่านั้น นอกจากนี้บทความวิชาการนี้ยังมีการแสดงตัวอย่างของชื่อนักดนตรีที่มีชื่อเสียง และมีรูปภาพประกอบซึ่งจะสอดคล้องกับประเด็นเนื้อหาสาระของดนตรีอีกด้วย          แนวคิดของดนตรีแจ๊ส ดนตรีแซมบา และดนตรีบอสซาโนวานั้น อาจกล่าวได้ว่าเกิดขึ้นมาจากผลพลอยของการล่าอาณานิคมของชาติตะวันตก เพื่อที่จะแผ่ขยายอำนาจและดินแดนในสมัยก่อน ที่นำไปสู่การสร้างสรรค์ผลงานของดนตรีเหล่านั้น           The purpose of this academic article is to show any essential perspectives of music and culture in the Americas which are derived from Western colonialism. Thus, this article emphasizes on investigating styles and aspects of Jazz, Samba, and Bossa Nova in music, particularly about rhythmic languages as well as idiomatic conceptualizations of those musical outputs. Additionally, this academic paper illustrates exemplars of a considerable number of prominent musicians and images which are associated with the subject matter.          However, it is clear that concept ideas of Jazz, Samba, and Bossa Nova in music come from the impact of Western colonialism in order to expand powers and territories in former times. In other words, it can lead to interesting new musical features at that time.

Downloads