ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมในการอนุรักษ์พลังงานไฟฟ้าของพนักงานในบริษัทในนิคมอุตสาหกรรม อีสเทิร์นซีบอร์ด จังหวัดระยอง
FACTORS AFFECTING ELECTRICITY ENERGY CONSERVATION BEHAVIOR OF EMPLOYEES IN COMPANIES IN EASTERN SEABOARD INDUSTRIAL RAYONG PROVINCE
Keywords:
อนุรักษ์พลังงานไฟฟ้า, นิคมอุตสาหกรรมอีสเทิร์นซีบอร์ด, จังหวัดระยอง, พฤติกรรม, ปัจจัยAbstract
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเพื่อศึกษาอิทธิพลของการรับรู้การสนับสนุนขององค์การในการอนุรักษ์พลังงานไฟฟ้า ทัศนคติในการอนุรักษ์พลังงานไฟฟ้า การคล้อยตามกลุ่มอ้างอิงในการอนุรักษ์พลังงานไฟฟ้า การรับรู้การควบคุมพฤติกรรมการอนุรักษ์พลังงานไฟฟ้าที่มีต่อความตั้งใจในการอนุรักษ์พลังงานไฟฟ้าของพนักงานบริษัทในนิคมอุตสาหกรรม อีสเทิร์นซีบอร์ด และเพื่อศึกษาอิทธิพลความตั้งใจในการอนุรักษ์พลังงานไฟฟ้า ที่มีต่อพฤติกรรมในการอนุรักษ์พลังงานไฟฟ้าของพนักงานบริษัทในนิคมอุตสาหกรรม อีสเทิร์นซีบอร์ด เก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง จากพนักงานทุกระดับที่บริษัทดำเนินกิจการอยู่ในนิคมอุตสาหกรรมอีสเทิร์นซีบอร์ด อำเภอ ปลวกแดง จังหวัดระยอง จำนวน 400 คน จากผลการศึกษาพบว่า การรับรู้การสนับสนุนขององค์การในการอนุรักษ์พลังงานไฟฟ้า ทัศนคติ ในการอนุรักษ์พลังงานไฟฟ้า การรับรู้การควบคุมพฤติกรรมการอนุรักษ์พลังงานไฟฟ้า มีผลต่อความตั้งใจในการอนุรักษ์พลังงานไฟฟ้าในเชิงบวกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 นั่นคือ หากพนักงานมีการรับรู้การสนับสนุนขององค์การในการอนุรักษ์พลังงานไฟฟ้า ทัศนคติในการอนุรักษ์พลังงานไฟฟ้า และการรับรู้การควบคุมพฤติกรรมการอนุรักษ์พลังงานไฟฟ้าเพิ่มขึ้น ความตั้งใจในการอนุรักษ์พลังงานไฟฟ้าของพนักงานก็จะเพิ่มขึ้นด้วย และยังพบว่า ความตั้งใจในการอนุรักษ์พลังงานไฟฟ้า มีผลต่อพฤติกรรมในการอนุรักษ์พลังงานไฟฟ้าในเชิงบวกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 นั่นคือ หากพนักงานมีความตั้งใจในการอนุรักษ์พลังงานไฟฟ้าเพิ่มขึ้น พฤติกรรมในการอนุรักษ์พลังงานไฟฟ้าของพนักงานก็จะเพิ่มขึ้นด้วย The purpose of this research aimed to study the influence of organizational support perceptions on the conservation of electricity energy. Attitude to conserve electricity conformity to reference groups for conservation of electrical energy perception of control behavior of electricity energy conservation. Toward the intention to conserve electricity of the employees of the company in the industrial estate Eastern Seaboard And to study the influence of the intention to conserve electricity To the behavior of electricity conservation of company employees in industrial estates Eastern Seaboard by collected data from a sample of employees at all levels that the company operates in the industrial estate. Eastern Seaboard, Pluak Daeng District, Rayong Province, 400 people The results of the study showed that awareness of the organization's support in conserving electricity. The attitude to conserve electricity perception of control behavior of electric energy conservation. It has a positive effect on the intention to conserve electricity was a statistically significant level 0.05. That is, if employees perceive organizational support for energy conservation. Attitude to conserve electricity and increased awareness of control behavior of electric energy conservation intention to conserve electric energy of employees will increase and found that the intention to conserve electricity as well. There was a statistically significant positive effect on the electrical energy conservation behavior at a level of 0.05. Behavior in the conservation of electric energy of employees will also increase.References
สมาคมพลังงานทดแทนสู่ชุมชนแห่งประเทศไทย-TRECA. (2561). แนวทางในการอนุรักษ์พลังงานหรือการใช้ พลังงานเชิงอนุรักษ์. สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน. (2562). แผนพัฒนากำลังการผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย พ.ศ. 2561-2580.
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย. (2562) ความต้องการพลังไฟฟ้าสูงสุด (Online). https://www.egat.co.th/index.php?option=com_content&view=article&id=348&Ite mid=116
กิตติศาสตร์ แจ่มเลก. (2559). ปัจจัยที่มีผลต่อการอนุรักษ์พลังงานไฟฟ้าในบริษัทอิเล็กทรอนิกส์. (วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต), มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, นิคมอุตสาหกรรมอีสเทิร์นซีบอร์ด (2562). นิคมอุตสาหกรรมอีสเทิร์นซีบอร์ด (Online). https://www.wha-industrialestate.com
ปิ่นกนก วงศ์ปิ่นเพ็ชร (2561). ปัจจัยเชิงเหตุของพฤติกรรมสิ่งแวดล้อมของนักศึกษา ปริญญาตรีมหาวิทยาลัยภาครัฐในเขตกรุงเทพมหานคร. คณะศิลปศาสตร์ประยุกต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
ภีรดา ศิรกฤชโสภณ . (2560). การอนุรักษ์พลังงานแบบมีส่วนร่วมโรงพยาบาลอ่างทอง จังหวัดอ่างทอง. คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
รุจิรา คงนุ้ย และทักษิณา เครือหงส์ . (2557). พฤติกรรมการใช้ไฟฟ้าของนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต), มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ.
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร. (2562). สถานการณ์การใช้น้ำมันและไฟฟ้าของไทย ในช่วง 5 เดือนแรกของปี 2562.
สรีลา ทั้งรักษ์. (2553). พฤติกรรมการประหยัดพลังงานในครัวเรือนกรณีของบุคลากร สังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ในจังหวัดพังงา. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต
สมาคมพลังงานทดแทนสู่ชุมชนแห่งประเทศไทย-TRECA. (2561). แนวทางในการอนุรักษ์พลังงานหรือการใช้พลังงานเชิงอนุรักษ์.
สุพีร์ ดาวเรือง. (2561). พฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กรเรื่องการรักษ์สิ่งแวดล้อม ผลกระทบของการไหลล้นจากพฤติกรรมการใช้ชีวิตส่วนตัวไปสู่การทำงาน. (บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต), มหาวิทยาลัยศิลปากร
สุปริญญา ลิ้มวนานนท์. (2559). ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการประหยัดพลังงานไฟฟ้าในสถานที่ทำงานของพนักงานบริษัทห้างขาย ยาตราเสือดาว. (บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต), มหาวิทยาลัยศิลปากร,
สุวิมล ติรกานันท์. 2556. สถิติและการวิจัยทางการศึกษาเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 10. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
Ajzen, I. (1985). From intentions to actions: a theory of planned behavior. In Action control: from cognition to behavior (pp. 11-39). Berlin: Springer-Verlag.
Ajzen, I. (1991). The theory of planned behavior. Organizational Behavior and Human Decision Processes, 50(2), 179-211.
Eneizan, B. (2019). The adoption of electrics vehicles in Jordan based on theory of planned behavior. American Journal of Economics and Business Management, 2, 1-14. doi:10.31150/ajebm.Vol2.Iss2.64
Hale, J. L., Householder, B. J., & L, G. K. (2002). The theory of reasoned action. In The persuasion handbook: developments in theory and practice (pp. 259-286). Thousand Oaks: Sage
Kutner, B., Wilkins, C., & Yarrow, P. R. (1952). Verbal attitudes and overt behavior involving racial prejudice. The Journal of Abnormal Social Psychology, 47(3), 649.
Michele Belmont Halsell (2014). "Examining Employees' Perceptions of Energy Conservation Behaviors in Office Settings". Theses and Dissertations. 2065. University of Arkansas, Fayetteville.
Rotter, J. B. (1966). Generalized expectancies for internal versus external control of reinforcement. Journal of Psychological monographs: General applied, 80(1), 1.
Sheppard, B., Hartwick, J., & R Warshaw, P. (1988). The theory of reasoned action: A meta-analysis of past research with recommendations for modifications and future research. Journal of Consumer Research, 325-343.
Syed S. ALAM, Chieh-Yu LIN, Maisarah AHMAD, Nor A. OMAR, Mohd H. ALI. (2019). Factors Affecting Energy-Efficient Household Products Buying Intention: Empirical Study. Environmental and Climate Technologies. 2019, vol. 23, no. 1, pp. 84–97 doi: 10.2478/rtuect-2019-0006
Sussman, R., & Gifford, R. (2018). Causality in the Theory of Planned Behavior. Personality and Social Psychology Bulletin, 014616721880136. doi:10.1177/0146167218801363
Tan, C.-S., Ooi, H.-Y., & Goh, Y.-N. (2017). A moral extension of the theory of planned behavior to predict consumers’ purchase intention for energy-efficient household appliances in Malaysia. Energy Policy, 107, 459-471. doi:10.1016/j.enpol.2017.05.027
Turner, R., & Carlson, L. (2003). Indexes of Item-Objective Congruence for Multidimensional Items. International Journal of Testing, 3, 163-171. doi:10.1207/S15327574IJT0302_5
Warner, L. G., & DeFleur, M. L. (1969). Attitude as an interactional concept: Social constraint and social distance as intervening variables between attitudes and action. American Sociological Review, 153-169.
Wicker, A. W. (1969). Attitudes versus actions: The relationship of verbal and overt behavioral responses to attitude objects. Journal of Social issues, 25(4), 41-78.
Xuan Liu, Qiancheng Wang, Hsi‐Hsien Wei,Hung‐Lin Chi, Yaotian Ma and Izzy Yi Jian (2019). Psychological and Demographic Factors Affecting Household Energy‐Saving Intentions: A TPB‐Based Study in Northwest China, Sustainability 2020, 12, 836;
Zhang, Bin & Li, Guo. (2014). Determinants of energy-saving behavioral intention among residents in Beijing: Extending the theory of planned behavior. Journal of Renewable and Sustainable Energy. 6. 053127. 10.1063/1.4898363.