ผลกระทบของความรู้ด้านความปลอดภัยและบรรยากาศด้านความปลอดภัยที่มีต่อพฤติกรรมความปลอดภัย ของบริษัทผู้รับเหมาก่อสร้างในนิคมอุตสาหกรรมแหลมฉบัง

The Effects of Safety Knowledge and Safety Climate towards Safety Behavior of Contractor in Laem Chabang Industrial Estate

Authors

  • ดาริน วัฒนสิธรร
  • อัควรรณ์ แสงวิภาค

Keywords:

ความรู้ด้านความปลอดภัย, พฤติกรรมความปลอดภัย, บริษัทผู้รับเหมาก่อสร้าง, นิคมอุตสาหกรรมแหลมฉบัง, ความปลอดภัย

Abstract

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาถึงความรู้ด้านความปลอดภัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมความปลอดภัยของพนักงาน 2) ศึกษาถึงบรรยากาศความปลอดภัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมความปลอดภัยของพนักงาน 3) ศึกษาถึงความรู้ด้านความปลอดภัยและบรรยากาศความปลอดภัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมความปลอดภัยของพนักงาน ขนาดของกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ พนักงานบริษัทผู้รับเหมาก่อสร้างในนิคมอุตสาหกรรมแหลมฉบัง จังหวัดชลบุรี จำนวน 251 คน ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย โดยทำการศึกษาข้อมูลด้วยโปรแกรมทางสถิติเพื่อการศึกษาทางสังคมศาสตร์  ผลการทดสอบพบว่า 1) ความรู้ด้านความปลอดภัย มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมความปลอดภัย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ได้แก่ อาชีวอนามัย และด้านความรู้ความปลอดภัยในการทำงาน 2) พฤติกรรมความปลอดภัยมีอิทธิพลเชิงบวกต่อพฤติกรรมความปลอดภัยอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05 ได้แก่ จากด้านความมุ่งมั่นของฝ่ายบริหาร ด้านการฝึกอบรมด้านความปลอดภัย และด้านการสื่อสารที่เพิ่มขึ้นตามลำดับ 3) ปัจจัยด้านความรู้ด้านความปลอดภัย มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมความปลอดภัย อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05 ได้แก่ ด้านความมุ่งมั่นของฝ่ายบริหาร ด้านการฝึกอบรมด้านความปลอดภัย และด้านการสื่อสารที่เพิ่มขึ้นตามลำดับ และ 4) ปัจจัยความรู้ด้านความปลอดภัยและบรรยากาศด้านความปลอดภัย มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมความปลอดภัยอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05 ได้แก่ ความรู้ด้านความปลอดภัยและบรรยากาศด้านความปลอดภัย ตามลำดับ  The purpose of this research study were 1) to analyze the level of Safety Knowledge Safety Climate and Safety Behavior 2) to analyze the effect of Safety Climate towards Safety Behavior and 3) to analyze the effect of Safety Knowledge and Safety Climate towards Safety Behavior. The sample size of this study was 251 employees of a Ritta Company Limited in Laem Chabang Industrial Estate.  The test results showed that 1) The Empirical evidence demonstrates safety knowledge, safety climate and Safety behavior has a positive and significant effect at a high level 2) Safety Knowledge has a significant positive impact on the Safety Behavior of employees at the level of 0.05, including Safety Knowledge for Occupational Safety and health and Safety Knowledge on work . 3) Safety Climate that has a significant positive influence on Safety Behavior at the level of 0.05, including Stability of the management, Safety training And communication and 4) Safety Knowledge and Safety Climate that have a significant positive impact on the Safety Behavior of employees at the level of 0.05, including for Occupational health and Level of Safety Knowledge, individual Stability of the management, Safety training And communication.

References

กนกนิภา ปิตกาญจนกุล. (2547). ความสัมพันธ์ระหว่างบุคลิกภาพ ความรู้ด้านความปลอดภัยกับพฤติกรรมความปลอดภัย ในการทำงานของพนักงานฝ่ายผลิต โรงงานผลิตอะไหล่จักรยาน เขตพระประแดง. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ.

กัลยา วานิชย์บัญชา. (2546). การใช้ SPSS for Windows ในการวิเคราะห์ข้อมูล (พิมพ์ครั้งที่ 6). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

เขมณัฏฐ์ อำนวยวรชัย. (2560). ความสัมพันธ์ ระหว่าง บรรยากาศความปลอดภัย พฤติกรรมความเสี่ยง ในการทำงานของพนักงานท่าอากาศยาน นานาชาติ เชียงใหม่. 11(3): 99-111.

จิตรลดา โพธิ์วิจิตร. (2562) ความปลอดภัยในงานก่อสร้าง: กฎหมายแนวทางป้องกันอุบัติเหตุและแอพพลิเคชั่น บนโทรศัพท์มือถือ: วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ ปี ที่ 12 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม – สิงหาคม 2563

ดิเรก หุ่นสุวรรณ์. (2530). ความรู้เกี่ยวกับความปลอดภัยและเจตคติต่อความปลอดภัย ในห้องปฏิบัติการเคมีของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ในกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ ครุศาสตร์ มหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ทรัพย์สตรี แสนทวีสุข. (2550). พฤติกรรมความปลอดภัยในการปฏิบัติงานกับสารเคมี ของพนักงานในอุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ จังหวัดชลบุรี. สาขาวิชาประชากรศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ทรงศักดิ์ มณฑา. (2560 0. การศึกษาเรื่องพฤติกรรมความปลอดภัยในการทำงานของพนักงานสายการผลิต ในบริษัท บูรณาพากรุ๊ป จำกัด. การบริหารทั่วไป วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา.

ธวัช เหลืองวสุธา. (2557). ความรู้ ทัศนคติ และการปฏิบัติงานอย่างปลอดภัยของพนักงาน กรณีศึกษา บริษัทคอทโก้ เมทอล เวอร์คส จำกัด จังหวัดระยอง. กรุงเทพมหานคร: สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

นภาพร วงศ์วิวัฒนนุกิจ. (2553). การบาดเจ็บที่เกี่ยวเนื่องจากการทำงานและพฤติกรรมความปลอดภัยในการทำงานของคนงานก่อสร้าง. วิทยานิพนธ์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

ปริญญา สุดอารมย์, และวสุธิดา นุริตมนต์. (2561). ความตระหนักถึงความปลอดภัยในการทำงานส่งผลต่อพฤติกรรมความปลอดภัยในการทำงานของพนักงานระดับปฏิบัติการ บริษัทในเครือโปลิโฟม จำกัด. Valaya Alongkorn Review (Humanities and Social Science) Vol.8 No.3.

พรนิภา บริบูรณ์สุขศรี, (2561). การศึกษาความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรม ด้านความปลอดภัยใน การทำงานของพนักงานสายงานฝ่ายผลิต กรณีศึกษา อุตสาหกรรม การผลิตขวดแก้ว. SAU JOURNAL OF SCIENCE & TECHNOLOGY, 4(2), 1-15.

ภูดิท เตชาติวัฒน์ . (2555). การพัฒนาศักยภาพบุคคลที่ปฏิบัติงานในหน่วยบริการปฐมภูมิโดยใช้บริบทเป็นฐานระยะที่ 2. นครสวรรค์ สี่แคว มหาวิทยาลัยนเรศวร.

มุจลินท์ อินทรเหมือน. (2560). พฤติกรรมความปลอดภัยในการทำงานของพนักงานในอู่ซ่อมรถยนต์เขตเทศบาลนครศรีธรรมราช จังหวัดนครศรีธรรมราช. สำนักวิชาสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์.

รัฐนนท์ ปานสมุทร์. (2557). ปัจจัยที่ส่งผลต่อบรรยากาศความปลอดภัยในงานก่อสร้างอาคาร. การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 52 สาขาสถาปัตยกรรมศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ , 575-596

ศิริลักษณ์ งิ้วใหญ่. (2556). ความรู้ ทัศนคติ พฤติกรรมความปลอดภัยในการทำงานและปัจจัยที่เกี่ยวข้องของพนักงานฝ่ายผลิต โรงงานอุตสาหกรรมรองเท้า ในศูนย์พัฒนาชนบทผสมผสานจักราช. มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์.

ศิรินภา โฉมศรี. (2559). บรรยากาศความปลอดภัยและสภาพการทำงานที่ส่งผลต่ออุบัติเหตุจากการทำงานของพนักงานระดับ ปฏิบัติการในโรงงานแห่งหนึ่งในนิคมอุตสาหกรรมแหลมฉบัง. คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

สุคลทิพย์ สุขขำจรูญ. (2558). ผลกระทบของบรรยากาศความปลอดภัย ความรู้ความปลอดภัย การจูงใจความปลอดภัย ที่มีต่อพฤติกรรมความปลอดภัยในอุตสาหกรรมก่อสร้างแท่นอุปกรณ์การผลิตปิโตรเลียม. คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

สุธาทิพย์ รองสวัสดิ์. (2554). ศึกษาปัจจัยการรับรู้เรื่องความปลอดภัยในการทำงานที่มีผลต่อพฤติกรรมในการทำงานของพนักงานระดับปฏิบัติการ ประจำการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค จ. เชียงใหม่. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

สุรีวัลย์ ใจกล้า. (2557). พฤติกรรมความปลอดภัยในการทำงานของพนักงาน บริษัทเอสอีไอ อินเตอร์คอนเนคส์ โปรดักส์ (ประเทศไทย) จำกัด. มหาวิทยาลัยบูรพา.

สุวิมล ติรกานันท์. (2550) การสร้างเครื่องมือวัดตัวแปรในการวิจัยทางสังคมศาสตร์ : แนวทางสู่การปฏิบัติ. โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย: กรุงเทพฯ.

สำนักงานคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก. (2562) (Online). รายงานการศึกษาความเหมาะสมการจัดตั้งเขตส่งเสริมเศรษฐกิจพิเศษเพื่อกิจการอุตสาหกรรมนิคมอุตสาหกรรมแหลมฉบัง. 17 ธันวาคม 2562.

เสาวนีย์ เผ่าเมือง. (2554). พฤติกรรมความปลอดภัยในการทำงานของพนักงานฝ่ายผลิต บริษัทซีที่เอสอิเล็กทรอนิกส์คอร์เปอร์เรชั่น. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจ สาขาวิชาการจัดการวิศวกรรมธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมลคลธัญบุรี.

สราวุธ แววประเสริฐ. (2558). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมความปลอดภัยของพนักงานในกลุ่มอุตสาหกรรมสี จังหวัดสมุทรปราการ. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.

สุธาทิพย์ รองสวัสดิ์. (2555). ปัจจัยการรับรู้เรื่องความปลอดภัยในการทำงานที่มีผลต่อพฤติกรรมในการทำงานของพนักงานระดับปฏิบัติการประจำการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค จ. เชียงใหม่. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

เสวก ประทุมเมศ. (2556). ปัจจัยและการตัดสินใจคัดเลือกใช้ผู้รับเหมาหลักสำหรับโครงการก่อสร้างในโพ้นทะเลในประเทศไทย: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี.

อภิชา ครุธาโรจน์, ศรีรัตน์ ล้อมพงศ์, นันทพร ภัทรพุทธ และจิตรพรรณ ภูษาภักดีภพ. (2561). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมความปลอดภัยในการทำงานบนที่สูงของคนงานก่อสร้างรถไฟฟ้าในเขตกรุงเทพมหานคร. คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา.

อังคณา พัฒโท. (2562). พฤติกรรมความปลอดภัยในการปฏิบัติงานของพนักงานบริษัท MEKKERE (2545). จำกัด. คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

Choudhry, R.M., Fang, D., Mohamed, S., (2007). The nature of safety culture: a survey of the state-of-the-art. Saf. Sci. 45, 993–1012.

Cochran, W.G. (1953). Sampling Techiques. New York: John Wiley & Sons. Inc

Cooper, M. D. (2000). Toward a model of safety culture. Safety Science 36 (2): 111-136.

Diaz, R. I. and D. D. Cabrera. (1997). Safety climate and attitude as evaluation measures of organizational safety. Accident Analysis & Prevention 29 (5): 643-650.

Glendon, A. I. and D. K. Litherland. (2001). Safety climate factors, group differences and safety behaviour in road construction. Safety Science 39 (3): 157-188.

Da Silva, J. P. (2018). Combining Safety Climate and Behavior-Based Safety to Achieve Compliance: A Sociotechnical Systems Model. Proceedings of the Human Factors and Ergonomics Society Annual Meeting. SAGE Publications Sage CA: Los Angeles, CA.

Dahl and T. J. J. o. s. r. Kongsvik (2018). Safety climate and mindful safety practices in the oil and gas industry. 64: 29-36.

Neal, A., et al. (2000). The impact of organizational climate on safety climate and individual behavior. 34(1-3): 99-109.

Neal, A., & Griffin, M. A. (2002). Safety climate and safety behaviour. Australian journal of management, 27 (1_suppl), 67-75.

Newaz, M. T., et al. (2019). The psychological contract: A missing link between safety climate and safety behaviour on construction sites. 112: 9-17.

Payne, S. C., M. E. Bergman, J. M. Beus, J. M. Rodriguez, and J. B. Henning. (2009). Safety climate: leading or lagging indicator of safety outcome?. Journal of Loss Prevention in the Process Industries 22 (6): 735-39.

Fina Febrina Sarita et al. (2019). The effect of safety knowledge and safety motivation to work accident with work compliance as intervening variable at PT. Wijaya Karya Project Division 1, Indonesia. International Journal of Science and Business. ISSN 2521-3040.

Zohar, D. J. J. o. a. p. (1980). Safety climate in industrial organizations: theoretical and applied implications. 65(1): 96.

Downloads

Published

2022-11-25